Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดก่อนคลอด (Antepartum Hemorrhage) -…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดก่อนคลอด (Antepartum Hemorrhage)
สาเหตุการตกเลือดก่อนคลอด :red_flag:
obstetric causes :check:
placenta previa
การแตกของ marginal sinus
การแตกของ vasa previa
Excessive Bloody show
rupture of the uterus
Placenta membranacea
abruption placentae
Placenta circumvallata
non obstetric causes :check:
โรคเลือด
มะเร็งปากมดลูก
การฉีกขาดหรือเป็นแผลที่ปากมดลูก หรือผนังช่องคลอด
ปากมดลูกหรือผนังช่องคลอดอักเสบ
Polyp หรือ erosion ที่ปากมดลูก
การแตกของเส้นเลือดขอดบริเวณช่องคลอดและปากช่องคลอด
ไม่ทราบสาเหตุ
การดูแลรักษาภาวะตกเลือดก่อนคลอด :red_flag:
รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
No PV, No PR
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด :red_flag:
สาเหตุของภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด :check:
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การลดขนาดอย่างฉับพลันของมดลูกขนาดใหญ่
แรงกระแทกทางหน้าท้อง (trauma)
ผลจากหัตถการของแพทย์ (iatrogenic trauma)
สายสะดือสั้น
การออกแรงกดต่อ inferior vena cava
ความผิดปกติหรือเนื้องอกของมดลูก (myoma uteri)
สารปัจจัยเสี่ยงบางอย่าง
การจำแนกประเภทของภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด :check:
แบ่งตามพยาธิสภาพ
Concealed หรือ internal hemorrhage
Mixed หรือ combined hemorrhage
Revealed หรือ external hemorrhage
แบ่งตามลักษณะทางคลินิกได้ 3 ชนิดตามความรุนแรง
Grade 1 (mild or mildly severe)
Grade 2 (moderate or moderately severe)
Grade 3 (severe)
การวินิจฉัยภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด :check:
อาการและอาการแสดง
การตรวจภายใน
การตรวจรกหลังคลอด
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
การรักษาภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด :check:
แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolemia ภาวะขาดออกซิเจน และความไม่สมดุลย์ของอีเลคโตรไลท
ถ้ามีภาวะ consumptive coagulopathy แก้ไขโดยการให้ fresh frozen plasma หรือ cryoprecipitate
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็วและอย่างปลอดภัย
พยายามป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ heparin, fibrinogen หรือ antifibrinolytic agent
ในรายที่อายุครรภ์น้อย
ภาวะแทรกซ้อนและการพยากรณ์โรคในมารดา :check:
Consumptive coagulopathy
ภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
Uteroplacental apoplexy (Couvelaire uterus)
การตกเลือดตั้งแต่ระยะก่อนเจ็บครรภ์คลอด ไม่ว่าจะเป็นชนิด revealed, concealed หรือ mixed
Acute pituitary necrosis (Sheehan’s syndrome)
เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบในระยะหลังคลอด
ผลเสียอื่น ๆ จากการได้รับเลือดทดแทนมาก ๆ
ภาวะแทรกซ้อนและการพยากรณ์โรคในทารก :check:
การคลอดก่อนกำหนด (prematurity)
ภาวะ Asphyxia
ทารกตายในครรภ์ ถ้าหากมี asphyxia นาน ๆ โดยไม่ได้รับการแก้ไข
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะรกเกาะต่ า (Placenta Previa) :red_flag:
Marginal placenta previa (placenta previa type 2)
Partial placenta previa (placenta previa type 3)
Low – lying placenta (placenta previa type 1)
Total placenta previa (placenta previa type 4)
สาเหตุของภาวะรกเกาะต่ำ :check:
อายุ ในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุเกิน 35 ปี
จำนวนครั้งของการคลอด (parity) จ านวนครั้งยิ่งมากยิ่งมีโอกาสพบรกเกาะต่ำได้มากขึ้น
ปัจจัยที่ทำให้หล่อเลี้ยง decidua เสียไป
การผ่าท้องทำคลอดในครรภ์ก่อน
การวินิจฉัยภาวะรกเกาะต่ำ :check:
จากประวัติอาการและอาการแสดง เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บ (painless bleeding)
การตรวจหาตำแหน่งรกเกาะ
การตรวจภายใน
การรักษาภาวะรกเกาะต่ำ :check:
การรักษาเบื้องต้น ได้แก่ การสังเกตอาการตกเลือด
การรักษาขั้นต่อไป ต้องพิจารณาลักษณะและปริมาณเลือดที่ออก อายุครรภ์ขนาดและท่า ของทารกในครรภ์ ถ้าเลือดที่ออกจากช่องคลอดลดน้อยลงหรือหยุด ยังไม่เจ็บครรภ์
ถ้าให้การรักษาตามข้อ 1 หรือระหว่างการรักษาข้อ 2 แล้วพบว่าเลือดออกมาก หรือออก นาน หรือเจ็บครรภ์ หรือทารกตายในครรภ์ หรืออายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ หรือคะเนน้ าหนักทารก มากกว่า 2,500 กรัม ให้รักษาแบบ active เพื่อทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
หลังเด็กและรกคลอดแล้ว ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ให้เลือดอย่างพอเพียงและ ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ภาวะแทรกซ้อนและการพยากรณ์โรคของภาวะรกเกาะต่ำ :check:
การบาดเจ็บต่อช่องทางคลอด :warning: การติดเชื้อหลังคลอด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture) :red_flag:
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด :check:
รอยแผลผ่าตัดจากเดิมแผลในการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
การบาดเจ็บบริเวณช่องท้องอย่างรุนแรง (Severe abdominal trauma) จากอุบัติเหตุ
เคยผ่านการตั้งครรภ์และคลอดบุตรมาจ านวนมาก (Grand multiparity)
การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก (Oxytocic drugs)
รกเกาะฝั่งลึกชนิด (Obstructed labor)
ชนิดของภาวะมดลูกแตก :check:
การแตกของแผลเป็นเก่าที่ตัวมดลูก
การแตกของมดลูกปกติเนื่องจากได้รับอันตรายบาดเจ็บ
การแตกขึ้นเองของมดลูก
การวินิจฉัย :check:
อาการและอาการแสดงเตือนว่ามดลูกจะแตก (threatened uterine rupture)
อาการและอาการแสดงของมดลูกที่แตกแล้ว
อาการปวดท้องน้อย จะทุเลาลง บางคนอาจบอกได้ว่ามีอะไรแยกออก บางรายพบมีเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการช็อคหรือไม่ ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของรอยแตก
ภาวะแทรกซ้อนและการพยากรณ์โรค :check:
การตกเลือดทั้งก่อนคลอดและหลังคลอด (APH & PPH)
การติดเชื้อ
อัตราการตายของมารดาเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่สัมพันธ์กับการเสียเลือด
ทารกขาดออกซิเจน ซึ่งทำให้เกิด Distress
เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะการแตกของ Vasa Previa :red_flag:
ปัจจัยส่งเสริม :check:
ภาวะสายสะดือเกาะบนเยื่อหุ้มทารก (Velamentous insertion) โดยอาจพบรกเกาะต่ำร่วมด้วย
ภาวะที่มีทารกน้อยร่วมด้วยชนิด Placenta succenturiata ร่วมกับมีภาวะรกต่ำด้วย
ครรภ์แฝด
การวินิจฉัย :check:
อาการและอาการแสดง :!!:
ก่อนถึงน้ำคร่ำแตก
หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
การตรวจเลือดที่ออกทางช่องคลอดว่าเป็นเลือดของทารก หรือการตรวจหา Fetal hemoglobin
การตรวจรกและถุงน้ำคร่ำ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงโดยเฉพาะชนิด Color flow Doppler
การรักษา :check:
ต้องนึกถึงภาวะนี้ไว้เสมอในรายรกเกาะต่ำครรภ์แฝดและทุกครั้งที่ทำการเจาะถุงน้ำคร่ำ (Amniotomy)
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ให้ผ่าท้องทำคลอด
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้วต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงทันทีโดย
ถ้าทำได้ไม่ยากอาจช่วยคลอดด้วยคีม
ผ่าท้องทำคลอด
ถ้าเด็กตายแล้วปล่อยให้คลอดเอง
ผลกระทบของภาวะตกเลือดก่อนคลอดต่อมารดาและทารก :check:
ผลกระทบต่อทารก :!:
ทารกแรกเกิดหายใจลeบาก เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ ทารกเกิดการเสียชีวิตได้
ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Fetal distress
ทารกตายในครรภ์จากการขาดออกซิเจน
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่eในรายที่ทารกคลอดก่อนกeหนด
ผลกระทบต่อมารดา :!:
การตกเลือดก่อนคลอดในปริมาณมากส่งผลให้มารดามีภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมา ไม่ ว่าจะเป็นภาวะซีด ภาวะพร่องออกซิเจน ภาวะเหนื่อยอ่อนเพลีย การติดเชื้อ หรือปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ผิดปกติ ภาวะไตวาย จนกระทั่งส่งผลต่อการกลับคืนสู่ภาวะปกติหลังคลอดช้า
ผลกระทบทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจต่อหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว