Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2 การพยาบาลมารดา ที่มีเลือดออกในระยะตั้งครรภ์ :pregnant_woman:…
บทที่ 4.2 การพยาบาลมารดา
ที่มีเลือดออกในระยะตั้งครรภ์
:pregnant_woman::skin-tone-2:
ภาวะตกเลือดในระยะแรกของการตั้งครรภ์
ความหมาย
การมีเลืือดออกจากหรือออกในอวัยวะสืบพันธ์และผ่านออกทางช่องทางคลอดในระยะครึ่งแรกของการ ตั้งครรภ์ คือ ก่อนอายุครรภ์ 20 wk.
การแท้ง
ชนิด
แท้งที่เกิดขึ้นเอง
การแท้งไม่ครบหรือการแท้งไม่สมบูรณ์ (incomplete abortion)
การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (inevitable abortion)
การแท้งครบหรือการแท้งสมบูรณ์ (complete abortion)
การแท้งคุกคาม (threatened abortion)
การแท้งค้าง (missed abortion)
การแท้งเป็นอาจิณ หรือ การแท้งซ้ำ (habitual หรือ recurrent abortion)
การแท้งติดเชื้อ (septic abortion)
การทำแท้ง (induced abortion)
การทำแท้งเพื่อการรักษา (therapeutic abortion)
การเลือกยุติการตั้งครรภ์ (elective abortion)
สาเหตุ
จากสตรีตั้งครรภ์
ติดเชื้อ
ขูดมดลูก
เคยแท้ง
อายุมากกว่า 35 ปี
สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
จากทารก
แท้งจากโครโมโซมผดิปกติ
แท้งที่ในโพรงมดลูกไม่มีตัวอ่อน
การติอดเชื้อที่รกหรือทารก
พยาธิสภาพ
การแท้งที่เกิดขึ้นเอง
ฮอร์โมน betahCG ฮอรโ์มนโปรเจสเตอโรน ฮอรโ์มนเอสโตรเจนลดลง
-->เกิดการหลุดลอกของ decidua -->รกลอกตัวและมีเลือดออกก
ภาวะแทรกซ้อนหลังการทำแท้ง
การใช้เครื่องมือในการทำแท้ง ทำให้เเกิดการบาดเจ็บของทางช่องทางคลอด
(incomplete evacuation) ทำให้เกิดการติดเชื้อ
(uterine atony) ทำให้เกิดการตกเลือด
พยาธิสภาพของการแท้งติดเชื้้อ
มี endometritis คือจะลามไปเรื่อยๆจน (sepsis) โดยทั่วไปการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน (pelvic inflammatory disease) พบบ่อยสุด
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัตติการ
การตรวจพิเศษ
การซักประวัติ
แนวทางการรักษา
ไตรมาสที่ 2
การรักษาดว้ยยาจะมีความปลอดภัยมากกว่า การตั้งครรภ์นอกมดลูก
ไตรมาสแรก
เฝ้าสังเกตอาการ การใช้ยาหรอืการขดูมดลูก
การพยาบาล
การพยาบาลขณะอยู่ในโรงพยาบาล
ในรายแท้งคุกคาม งดการตรวจทางช่องคลอดและงดสวนอุจจาระ
ในรายแท้งที่แท้งหลีกเลี่ยงไม่ได ้แท้งไม่ครบ แท้งครบ และแท้งค้าง ให้เตรียมร่างกาย และจิตใจให้พร้อ้มทั้งการรักษาด้วยยา หรือด้วยหัตถการ
bed rest
คำแนะนำการปฏิบัติตัว
เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
สังเกตปริมาณเลือดทที่ออกทางช่องคลอด
สังเกตอาการที่ผิดปกติ
พักผ่อนงดใช้แรง
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การพยาบาลด้านจิตใจ
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่ไ่ข่ถูกผสมแล้ว (fertilized ovum) หรอืตัวอ่อน (blastocyst) ฝั่งตัวอยู่ภายนอกมดลูก
พยาธิสรีรภาพ
สันนิฐานว่าเป็นผลมาจากการอักเสบของท่อนำไข่ ส่งผลให้เกิดผังผืดขึ้นจนท่อนำไข่ตีบแคบและผิดรูป ตัวอ่อนจึงไม่สามารถ เคลืื่อนผ่านไปได้ในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งบริเวณที่ตัวอ่อนฝังตัวมากที่สุดคือ ส่วน ampulla ของท่อนำไข่
ปัจจัยเสี่ยง
ความเสี่ยงปานกลาง ได้แก่ มีบุตรยาก มากกว่าหรือเท่่ากับ 2 ปี มีคู่นอนหลายคน อายุมากกว่า 35 ปี
ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ไดแ้ก่ เคยผ่าตัดอุ้งเชิงกราน สูบยา สวนล้างช่องคลอด มีเพศสัมพันธ์ก่อนอายุ 18 ปี
ความเสี่ยงสูง ได้แก่ เคยตัดท่อนำไข่ ทำหมัน อุ้งเชิงกรานอักเสบ
อาการและอาการแสดง
กดเจ็บบรเิวณปีกมดลูก (adnexal tenderness)
อุ้งเชิงกราน หรือบริเวณหน้าท้อง
ปวดราวที่หัวไหล่
ขาดประจำเดือน
เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
ปวดท้องน้อย ปวดตื้อๆ บิดๆ
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
beta-hCG สงูกว่า 1,500-2,500 mlU/ml
การซักประวิติ
การตรวจพิเศษ
U/S เห็น gestational sac ร่วมกับ york sacหรือembryo
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา Methotrexate
การผ่าตัด
รักษาแบบประคับประคองและการเฝ้าสังเกตอาการ
การพยาบาล
ประคับประคองด้านจิตใจ
สังเกตอาการปวดท้อง
V/S
เจาะเลือด
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพ ของการตั้งครรภ์นอกมดลูก แผนการรักษา และการปฏิบัติตน
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ชนิด
complete hydatidiform mole
partial หรือ incomplete hydatidiform mole
พยาธิสรีรภาพ
เป็นการแบ่งตัวที่ผิดปกติของเซลล์ trophoblasts เฉพาะที่โพรงมดลูกและไม่มีการลามไปที่อื่น โดยชนิด complete mole จะไม่พบตัวอ่อนหรือถุงน้ำคร่ำ แต่ยังมีการไหลเวียนเลือดทางด้านมารดา ส่วนชนิดชนิด partial mole จะพบส่วนของตัวอ่อนและถุงน้ำคร่ำ และพบหลอดเลือดทารกใน villi ด้าน ทารก ลักษณะของเนื้อจะมีทั้งปกติและเสือมสลายบวมน้ำเป็นหย่อมๆ
สาเหตุ
เกิดจากความแปรปรวนทางพันธุกรรมในเนื้อรกทำให้เนื้อรก (chorionic villi) เสื่อมสภาพกลายเป็นถุงน้ำ เล็กๆใสๆ เกาะเป็นกระจุก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
Benign GTD
Malignant GTD รวมเรียกเป็นมะเร็งเนื้อรก
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เคยตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกมาก่อน
ขาดสารอาหาร
ยากจน
อายุน้อยกว่า 16 หรือมากกว่่า 40
มีประวัติแท้งเองมากกว่า 2 ครั้ง
อาการและอาการแสดง
เม็ดโมลหลุดออกมาทางช่องคลอด
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
อาการแพ้ท้องรุนแรง
U/S พบ snow stom pattern
แนวทางการรกัษา
ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง โดยการขูดมดลูกด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ ร่วมกับการให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ติดตามดูระดับ serum bête-hCG เพื่อประเมินการเกิดมะเร็งเนื้อรก ตรวจตามนัดนาน 1 ปี และคุมกำเนิดอย่างน้อย 1 ปี
การพยาบาล
อธิบายให้เข้าใจความสำคัญของการคุมกำเนิด เรื่องยาเม็ดคุมกำเนิด
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
มาตรวจตามนัด
อธิบายความจำเป็นที่ต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ขูดมดลูก
เตรียมพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือด
ก่อนคลอด (Antepartum Hemorrhage)
การรักษา
No PV, No PR
V/S
ประเมินทั้งมารดาและทารก
รกลอกตัวก่อนกำหนด
(abruption placentae)
ประเภท
Revealed
Concealed
Mixed
พยาธิ
มีการฉีกขาดของเส้นเลือดของรก ทำให้เกิดเลือดออกในชั้น deciduas basalisเลือดที่ออกตอนแรกจะเป็น decidual hematoma ก้อนเลือดเหล่านี้จะแทรกแซงเข้าไประหว่างรกและผนังมดลูก ผลที่ตามมาคือ เส้นเลือดฉีกขาดเพิ่มมากขึ้น เลือดออกมากขึ้น พื้นที่รกลอกตัวเพิ่มมากขึ้น
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
(trauma
การลดขนาดอย่างฉับพลันของมดลูกขนาดใหญ่
iatrogenic trauma
สายสะดือสั้น
การออกแรงกดต่อ inferior vena cava
ความหมาย
ภาวะที่มีการลอกตัวของรกที่เกาะในตำแหน่งปกติภายหลัง อายุครรภ์ 20 wks. จนถึงก่อนทารกคลอด หากมีการลอกตัวของรกเกิดก่อนอายุครรภ์ 20 wks. ถือว่าเป็นการแท้ง
การวินิจฉัย
ปวดท้อง
หน้าท้องแข็งตึง
เลือดออกทางช่องคลอด
การรักษา
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็วและปลอดภัย
ป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อน
แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolemia ภาวะขาดออกซิเจน
และความไม่สมดุลยข์องอิเลคโตรไลท์
ความหมาย
การที่มีเลือดออกทางช่องคลอดหลังจากตั้งครรภ์ได้ 28 wks. หรือน้ำหนักทารกเกิน 1,000 กรัม จนถึงก่อนเข้าสู่ระยะคลอด
รกเกาะต่ำ
(Placenta Previa)
ระดับ
Marginal placenta previa
ขอบรกเกาะที่ขอบ internal os พอดี
Partial placenta previa
ขอบรกคลุมปิด internal os เพียงบางส่วน
Total placenta previa
ขอบรกคลุมปิด internal os ทั้งหมด
Low – lying placenta
ขอบรกยังไม่ถึง internal os ของปากมดลูกแต่อยู่ใกล้ชิดมาก
สาเหตุ
จำนวนการตั้งครรภ์
การติดเชื้อ
อายุมากกว่า 35
เคยผ่าคลอด
ความหมาย
ภาวะที่รกเกาะต่ำกว่าปกติ โดยเกาะลงมาถึงส่วนล่างของผนังมดลูก
การวินิจฉัย
เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บ
หน้าท้องนุ่มไม่แข็งตึง
U/S, MRI
PV
การรักษา
ไม่ Pv ,PR
NPO ให้สารน้ำ
สังเกตอาการตกเลือด
complete beb rest
V/S
มดลูกแตก
(Uterine Rupture)
พยาธิสภาพ
Complete rupture รอยแตกทะลุชั้น peritoneum (Serosa)
Incomplete rupture รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum
ปัจจัยส่งเสริม
รอยแผลผ่าตัดเดิม
บาดเจ็บช่องท้อง
เคยคลอดบุตรมามาก
ความหมาย
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังมดลูกที่ตั้งครรภ์หลังจากทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลัง 28 wks. และเกิดการฉีกขาดระหว่างตั้งหรือระหว่างเจ็บครรภ์ หรือระหว่างคลอด
การวินิจฉัย
มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา
ปวดท้องน้อย กดเจ็บ
พบ Bandl’s ring
การดแูลรักษา
แก้ไขสาเหตุของภาวะมดลูกแตก
แก้ไขภาวะช็อค
Exploratory laparotomy
การแตกของ Vasa Previa
ความหมาย
ภาวะที่เส้นเลือดของสายสะดือหรือของรก ซึ่งทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารก นั้นได้ทอดผ่าน Internal os ซึ่งเกิดขึ้นได้ในรายที่สายสะดือของทารกเกาะที่เยื่อหุ้มทารก หรือเรียกว่า Velamentous insertion
ปัจจัยส่งเสริม
มีรกน้อยร่วมด้วย
สายสะดือเกาะบนเยื่อหุ้มทารก
ครรภ์แฝด
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
ก่อนน้ำคร่ำแตก
PV พบSynchronousกับเสียงหัวใจทารก
Amnioscopy เห็นเส้นเลือดทอดบนเยื่อถุงน้ำคร่ำชัดเจน
U/S อาจเห็นเส้นเลือดทอดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
หลังน้ำคร่ำแตก
มีเลือดออกทางช่องคลอด
fetal distress
การตรวจเลือดที่ออกทางช่องคลอดว่าเป็นเลือดของทารก
หรือการตรวจหา Fetal hemoglobin
การตรวจรกและถุงน้ำคร่ำ
การรักษา
ต้องนึกถึงภาวะนี้ไว้เสมอในรายรกเกาะต่ำ ครรภ์แฝดและทุกครั้งที่ทำการเจาะถุงน้ำคร่ำ
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ให้ C/S
ถ้าแตกแล้วให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
ผลกระทบ
มารดา
ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
ซีด พร่องออกซิเจน เหนื่อยอ่อนเพลีย
ทารก
Fetal distress
RDS
ตายในครรภ์
:writing_hand: จัดทำโดย
นางสาวชวนันท์ รูปคุ้ม 602701018