Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด, จัดทำโดย นางสาวศศิธร แก่นจันทร์…
ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอดสูงกว่าปกติ
ทารกตายในครรภ์
อุบัติการณ์ของ Pregnancy induce hypertension สูงขึ้น
ทารกน้ำหนักน้อย เพิ่มอัตราตายปริกำเนิด
เพิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนกำหนด
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การจำแนก
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
Physiologic anemia of pregnancy
โลหิตจางเนื่องมาจาก hemodilution ของ hypersplenism
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
สาเหตุที่กระทบต่อเม็ดเลือดแดงเป็นหลัก
สาเหตุที่กระทบต่อทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย
Thalassemia
Autoimmune hemolytic anemia
Sickle cell anemia
Hemolytic anemia
การเสียเลือด
การวินิจฉัยโลหิตจาง
การตรวจนับเม็ดเลือด, ระดับฮีโมโกลบิน, เม็ดเลือดขาว, เกร็ดเลือด และขนาดเม็ดเลือดแดงโดยเฉลี่ย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
เยื่อบุซีด ที่สังเกตได้บ่อยคือ เยื่อบุตา ลิ้น หรือขอบเล็บนิ้วมือ
ถ้าพบว่าเป็น microcytic anemia มีขนาดของ MCV มีค่าน้อยกว่า 75 fl ซึ่งพบได้ในโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก, ธาลัสซีเมีย, lead poisoning และ sideroblastic anemia
ถ้าพบว่าเป็น macrocytic anemia มีขนาดของ MCV มีค่ามากกว่า 100 fl พบได้ในกรณีขาดโฟลิค, acquired macrocytic anemia, โรคตับ และดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
Physiologic Anemia of pregnancy
สาเหตุ
การตกเลือดก่อนคลอด
ธาลัสซีเมีย
การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
การติดเชื้อ
การเกิด
การเพิ่มของปริมาตรพลาสมามากกว่ามวล
ของเม็ดเลือดแดง จึงทำให้ระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบินลดลงในไตรมาสแรก และสอง แต่ระดับฮีโมโกลบินที่ลดลงมาแล้วยังคงอยู่ในระดับมากกว่า10-10.4 กรัม/ดล ซึ่งไม่จำเป็นต้องรักษา
Iron deficiency anemia
การป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กโดยให้ความรู้โภชนศึกษาแก่หญิงที่มารับบริการคลินิกฝากครรภ์
การรักษา
ให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม ให้กินพร้อมกับอาหาร
ให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ ให้ได้ในกรณีที่ไม่สามรถ tolerate oral iron กินได้น้อย มีปัญหาการดูดซึม หรือผู้ป่วยโรคไตที่ต้องที่ dialysis
ให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood
พยาธิสภาพ
ความต้องการธาตุเหล็กประมาณวันละ 6-7 mg ซึ่ง iron storage ในร่างกายมักจะไม่เพียงพอจำเป็นต้องได้รับธาตุเหล็กเสริม และหากได้รับไม่เพียงพอก็อาจเกิดภาวะโลหิตจางในแม่ได้
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Iron deficiency erythropoiesis
ธาตุเหล็กสะสมหมดสิ้นลง ปริมาณเหล็กในเลือดเริ่มลดลง
ร่างกายตอบสนองโดยกระตุ้นการสร้างโปรตีนที่จับกับเหล็ก
เพิ่มขึ้นความอิ่มตัวของทรานสเฟอริน (transferrin saturation) ลดลง
Iron deficiency anemia
ธาตุเหล็กเหลือไม่เพียงพอต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง
เกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ตรวจพบ Hb ต่ำลง เม็ดเลือดแดงตัวเล็กและติดสีจาง
Iron stores depletion
ร่างกายได้รับธาตุเหล็กจากอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ
ร่างกายจะนำธาตุเหล็กจากแหล่งสะสมในรูป ferritin ที่ไขกระดูก ตับ ม้าม มาใช้
การวินิฉัย
ประวัติที่บ่งบอกได้ถึงความรุนแรงของโรค
อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ซึม
ภาวะเลือดออกผิดปกติ การผ่าตัดลำไส้ ความผิดปกติของทางเดินอาหาร
ประวัติการมีบุตรหลายคน การตั้งครรภ์วัยรุ่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Primary screening of anemia: CBC (Hb, Hct, MCV)
Diagnosis of IDA
Microcytic-hypochromic (MCV <80fl, MCHC<30% , MCH <30 mch/L,
RC <4.1 mil/mm3 , PBS
Evidence of depleted iron stores
Thalassemia in pregnancy
ชนิด
α - thalassemia
โฮโมซัยกัสแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1
ฮีโมโกลบินเอช
ฮีโมโกลบินเอช/ คอนสแตนต์สปริง
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินคอนสแตนต์สปริง
β – thalassemia
เบต้าธาลัสซีเมีย/ ฮีโมโกลบินอ
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินอ
โฮโมซัยกัสเบต้าธาลัสซีเมีย
การแบ่งระดับของความรุนแรง
Thalassemia major
กลุ่มที่มีอาการรุนแรงจำเป็นต้องได้
เลือดเป็นประจำ แต่หากให้การรักษาระดับ Hb ให้อยู่ระหว่าง 9.5-10.5 g/dl
Thalassemia intermedia
กลุ่มที่มีอาการรุนแรงน้อยถึงปานกลาง โดยในภาวะปกติจะมี Hb 7-10 g/dl
ผลกระทบ
มารดา
เสี่ยงต่อการตกเลือด
มีอาการทางโรคหัวใจ
เกิด Pre-eclampsia
ติดเชื้อได้ง่าย
ทารก
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายปริกำเนิด
น้ำหนักน้อย, การเจริญเติบโตช้า
Fetal distress
อาการและอาการแสดง
เป็นพาหะ
อาการซีดเล็กน้อย หรือไม่มีอาการใดๆ ทำงานได้ตามปกติ
เป็นโรค
ซีด เหนื่อยง่าย ทำงานหรือออกกำลังกายได้ไม่เท่าคนปกติ
เหลือง
ตับม้ามโต ทำให้ท้องป่อง อึดอัด
ลักษณะหัวตาห่าง โหนกแก้มสูง ขากรรไกรใหญ่
ดั้งจมูกแบน หน้าผากตั้งชัน
เติบโตไม่สมวัย พบโตช้า เตี้ย น้ำหนักน้อยกว่าปกติ
Infection ง่าย
Hemochromatosis พบผิวหนังคล้ำ เหล็กคั่งตามอวัยวะต่างๆ
การตรวจยืนยัน
การทดสอบโดยวิธีมาตรฐาน
การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน HbA2
การตรวจ Polymerase chain reaction (PCR) for a-thal 1 และ a-thal 2
การวินิจฉัยทารกก่อนคลอดในรายที่คู่สมรสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การเจาะเลือดสายสะดือทารก
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
การตัดชิ้นเนื้อรก
การเจาะน้ำคร่ำ
การรักษา
การรักษาความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ในทารกที่เป็น hydrops fetalis ตัวเด็กจะตายทุกราย
การให้เลือด มีเป้าหมายเพื่อให้เลือดให้พอเพียง
ควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย ยาที่ใช้คือ desferrioxamine (desferal
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรดโฟลิกมาก
การตัดม้าม
การดูแลในระยะคลอดและหลังคลอดที่สำคัญ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำมารดารับประทานอาหารที่มีประโยชน์โดยแบ่งตามสาเหตุ
แนะนำการประเมินเด็กดิ้นของทารกในครรภ์
แนะนำการพักผ่อนอย่างเพียงพอและการทำกิจกรรมต่างๆได้ตามปกติ
แนะนำการป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง
รักษาระดับฮีโมโกลบินให้อยู่ระหว่าง 7-10 กรัม/ดล
ระยะที่โลหิตจางมากควรตรวจสุขภาพทารกในครรภ์และเฝ้าระวังภาวะ IUGR
ในรายที่มีภาวะ Hydrop fetalis ให้ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
ให้ธาตุเหล็กเสริมตามปกติ และให้Folic acid เพิ่มรับประทานกรดโฟลิกเสริม 5 มก.ต่อวัน
ให้เลือดเพื่อรักษาระดับ Hb ให้อยู่ที่ระดับ ไม่ต่ำกว่า 7-10 g/dl
ระยะคลอด
ตรวจประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลการได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ให้นอนพักบนเตียงในท่านอนศีรษะสูง
ดูแลการบรรเทาความเจ็บปวด
ดูแลการให้สารน้ำ เลือด และยาตามแผนการรักษา
เตรียมช่วยเหลือการคลอด
ก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรม แก่รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็น thalassemia
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำการรับประทานอาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
ดูแลป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
การดูแล breast feeding หลังคลอด
จัดทำโดย นางสาวศศิธร แก่นจันทร์ รหัส 602701089 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม