Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardiopulmonary resuscitation (CPR.) - Coggle Diagram
Cardiopulmonary resuscitation (CPR.)
ความหมาย
การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด
ที่หยุดทำงานอย่างกระกันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิคความพิการของสมอง
การทำ CPR เมื่อพบ Cardiopulmonary Arrest
หมดสติ เรียกไม่ตอบสนอง เกิคขึ้นหลังจาหัวใจหยุดทำงาน 3-6 วินาที
ไม่หายใจ หรือหายใจกระตุกนานๆ ครั้ง
คลำชีพจรทีคอ หรือที่ขาหนีบไม่ได้ และฟังเสียงหายใจไม่ได้
ผิวหนังซีด เขียวคล้ำ
ม่านตาขยาย (หลังหัวใจหยุดเต้น 45 วินาที)
แบ่งเป็น 2 ระดับ
การช่วยชีวิศขึ้นสูง Advanced Cardiovascular Life Sopport (ACLS.)
การช่วยชีวิตขึ้นพื้นฐาน Basic Life Support (BLS.)
เกณฑ์การประเมิน ABCDE
A - Airway
เป็นการประเมินว่าทางเดินหายใจโล่ง หรือมีการอุดกั้น
B : Breathing
เป็นการประเมินลักษณะการหายใจ
C : Circulation
เป็นการประเมินเกี่ยวกับการเลือดและไหลเวียนเลือด
D : Disability
เป็นการประเมินอาการและอาการแสดงที่เกี่ยวกับการรับรู้
E : Exposure
เป็นการประเมินอาการและอาการแสดงที่เกี่ยวกับบาดแผล อุณหภูมิกาย
หลักการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ขั้นพื้นฐาน Basic. Life Suport (BLS)
C : Chest compression
A : Airway
B : Breathing
ข้อบ่งชี้ในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ
ผู้ที่มีภาวะหยุดหายใจ โดยที่หัวใจยังคงเต้นอยู่ประมาณ 2-3 นาที ให้ผายปอดทันที จะช่วยป้องกันภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ และช่วยป้องกันการเกิดภาวะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจนอย่างถาวร
ผู้ที่มีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นพร้อมกัน ซึ่งเรียกว่า clinical death การช่วยฟื้นคืนชีพทันทีจะช่วยป้องกันการเกิด biological death คือ เนื้อเยื่อโดยเฉพาะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจน
การช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ขั้นพื้นฐาน Basic. Life Suport (BLS)
ตามลำดับขั้นตอนเป็น C-A-B (Chest compression-Airway-Breathing)
เนื่องจากการกดหน้าอกก่อนจะทำให้มีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนสำคัญ เช่น หัวใจและสมอง
โดยวิธีปฏิบัติคือ
กดหน้าอก (0-30 ครั้ง > เปิดทางเดินหายใจ(A) > ช่วยหายใจ (B) 2ครั้ง= 30:2 ทำ CPR จนกว่ากู้ชีพจะมาถึง หรือจนกว่าผู้ป่วยจะรู้สึกตัว
ข้อควรระวังการทำ CPR
วางมือผิดตำแหน่ง ทำให้ซี่โครงหัก , xiphoid หัก , กระดูกที่หักทิ่มโดนอวัยวะสำคัญ เช่น ตับ ม้าม เกิดการตกเลือดถึงตายได้
การกดด้วยอัตราเร็วเกินไป เบาไป ถอนแรงหลังกดไม่หมด ทำให้ปริมาณเลือดไปถึงอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญได้น้อย ทำให้ขาดออกซิเจน
การกดแรงและเร็วมากเกินไป ทำให้กระดูกหน้าอกกระดอนขึ้น ลงอย่างรวดเร็ว หัวใจช้ำเลือดหรือกระดูกหักได้
การเปิดทางเดินหายใจไม่เต็มที่ เป่าลมมากเกินไป ทำให้ลมเข้ากระเพาะอาหาร เกิดท้องอืด อาเจียน ลมเข้าปอดไม่สะดวก ปอดขยายตัวไม่เต็มที่
การกดหน้าอกลึกเกินไป ทำให้หัวใจชอกช้ำได้