Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บําบัดหัตถการ - Coggle Diagram
บําบัดหัตถการ
การถอดเล็บ
-
-
คือ
ปัญหาส่วนใหญ่ที่ทำให้ต้องทำการถอดเล็บ ได้แก่ การเกิดเล็บขบ เล็บฉีกขาด หรือเล็บบางส่วนหลุดออกจากเนื้อเยื่อฐานเล็บ
-
-
เล็บมักใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการงอกขึ้นมาใหม่ แต่ในกระบวนการงอกใหม่ของเล็บไม่ทำให้เกิดความเจ็บปวดแต่อย่างใด
ขั้นตอนการถอดเล็บ
-
-
จัดท่าผู้ป่วย จากนั้นให้สารละลายโพวิโดน ไอโอดีน หรือยาชา เพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดบริเวณนิ้วที่จะถูกถอดเล็บ
-
-
หากเนื้อเยื่อบริเวณใต้เล็บเสียหายมาก แพทย์อาจใช้เครื่องมือจี้ด้วยไฟฟ้า เพื่อกำจัดเนื้อเยื่อ แล้วเช็ดออกด้วยผ้าก๊อซ
หลังจากนั้น อาจทายาปฏิชีวนะในรูปครีมขี้ผึ้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ แล้วพันด้วยผ้าพันแผลที่สะอาดปลอดเชื้อ
หลังพักฟื้นขณะถอดเล็บ
-
-
-
-
-
หากมีอาการต่อไป เช่นมีเลือดไหลออกมาก มีเส้นสีแดงเป็นจ้ำตามแขนหรือขามีไข้ หนาวสั่น แผลบวมแดง หรือมีหนองไหลออกมา ควรรีบไปพบแพทย์
-
-
การได้รับยาชาเฉพาะที่
การแก้ไขการแพ้ยาชา
-
-
-
6 ถ้าหัวใจหยุดเต้นอาจต้องให้ Adrenaline 1:1000 IV, Epinephrine 0.1-0.5 cc เจือจาง 1:10000 IV
-
-
-
หลักทั่วไปในการฉีดยาชา
4 ค่อยๆ ปักเข็มข้าไปในเนื้อใต้ผิวหนัง ดูดดูว่าปลายเข็มเข้าไปในหลอดเลือดหรือไม่ แล้วเดินยา
เพียง1-2 cc รอดูประมาณ 1-2 นาที่ ถ้าไม่มีปฏิกิริยาใดให้ฉีดต่อไปจนได้ปริมาณยาที่ต้องการ
-
3 ควรฉีดยาเข้าในผิวหนัง เว้นแต่บริเวณฝ่ามือ ฝ้าเท้า หรือที่หนังศีรษะเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บเวลาด ลื่อนเข็ม โดยปักเข็มเพียงพื้นผิวแล้วฉีดยาเข้าไปเล็กน้อย เข็มอยู่บนผิวหนังจะมีรอยนูนขึ้นทันที แต่ถ้าเข็มเข้าไปชั้นใต้ผิวหนังจะไม่มีรอยนูน
-
-
-
8 ไม่ควรแทงเข็มแรงๆ ลงไปบนกระดูก เพราะจะทำให้เจ็บและอาจทำให้ปลายเข็มงอ และขูดบาดเนื้อเยื่อวลาดึงออกหรือแทงเข้า
7 หากจะฉีดบริเวณกว้างควรแทงเข็มผ่านผิวหนังเพียงครั้งเดียว เมื่อเปลี่ยนตำแหน่งที่ฉีดควรถอนข็มออกมาจนเกือบสุด แล้วจึงเปลี่ยนทิศทาของเข็ม โดยไม่ต้องถอนเข็มออกจากผิวหนัง
9 ทดสอบการชา โดยใช้ tooth forceps จับที่ผิวหนังตำแหน่งที่ต้องการให้ชา ถ้าผู้ป่วยไม่เจ็บแสดงว่ามีการชาแล้วสามารถทำหัตถการได้
Local anesthesia
-
คือ การระงับความรู้สึกหรือชาเฉพาะที่โดยการใช้ยาชาเฉพาะที่ จะใช้เวลาประมาณ 2-3 นาทีในการออกฤทธิ์ และผู้ใช้จะกลับมารู้สึก ได้ปกติหลังจากเวลาผ่านไปประมาณ 2-3 ชั่วโมงเมื่อยหมดฤทธิ์
การผ่าฝี
-
-
คือ
-
-
-
หากเป็นฝีที่ผิวหนังภายนอก ที่มีขนาดเล็ก และไม่มีการเจ็บป่วยรุนแรง อาการอาจจะดีขึ้น และฝีอาจจะหายไปเอง แต่หากเป็นฝีที่อวัยวะภายในจะค่อนข้างเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสม
การเย็บแผล
-
อุปกรณ์การเย็บแผล
กรรไกรตัดไหม, น้ำยาฆ่าเชื้อ ได้แก่ Betadine หรือ Chlorhexidine
Non Tooth Forceps, Needle holder, วัสดุเย็บหรือด้าย
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง, ผ้าสี่เหลี่ยมผืนเล็ก, Tooth forceps
ถาดสแตนเลสมีหลุม, สำลีก้อนเล็ก, ผ้าก๊อส
-
-
ขั้นตอนการเย็บแผล
3การจับเข็ม ถ้าเป็นเข็มเย็บผ้าหรือเข็มตรงใช้มือจับเย็บ แต่ถ้าเป็นเข็มโค้ง ต้องใช้คีมจับเข็มที่ประมาณ 1/3 ค่อนมาทางโคนเข็ม สนด้ายที่จะใช้เย็บเข้าที่รูเข็ม ตัดด้ายให้เหลือความยาวประมาณ 1 คืบ
-
-
5เวลาตักควรปักเข็มลงไปตรงๆให้ตั้งฉากกับผิวหนัง หรือเนื้อที่จะเย็บ และการปักเข็ม ควรปักให้ห่างจากขอบแผลพอสมควร
-
6หมุนเข็มให้ปลายเข็มเสยขึ้น โดยใช้ข้อมือ อย่าดันไปตรงๆ ให้ปล่อยคีบจากโคนเข็ม มาจับปลายที่โผล่พ้นผิวหนังอีกด้านหนึ่งของแผลขึ้นมา แล้วค่อยๆหมุนเข็มตาม ความโค้งของเข็ม จนกระทั้งโคนเข็มหลุดจากผิวหนัง
7ใช้มือซ้ายจับโคนเชือกไว้ มือขวาถือคีมจับเข็มรูดออกไปจนเข็มหลุดจากเชือกแล้ววางคีมมาจับ ปลายเชือกอีกด้านหนึ่ง พร้อมกับดึงขอบแผลให้มาติดกันแล้วผูกเงื่อนตาย
-
-
การตัดไหม
-
วิธีตัดไหม
การตัดไหมที่เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ โดยใช้ปากคีบไม่มีเขี้ยวจับชายไหมส่วนที่อยู่ เหนือปมที่ผูกไว้ ดึงขึ้นพอตึงมือจะเห็นใต้ปมโผล่พ้นผิวหนังขึ้นมา 2 เส้นและใช้สอดปลายกรรไกรสำหรับ ตัดไหมในแนวราบขนานกับผิวหนังเล็มตัดไหมส่วนที่อยู่ชิด ผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูกแล้วดึงไหม
การตัดไหมที่เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมเป็นอัน ๆ ชนิดสองชั้น ให้ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิด ผิวหนังมากที่สุด ซึ่งอยู่ด้านตรงกันข้ามกับปมไหมให้ตัดไหมด้วยวิธีเดียวกับการเย็บธรรมดา
ทำความสะอาดบาดแผล โดยใช้แอลกอฮอล์เช็ดรอบแผล และอาจใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เช็ดคราบที่ไหมเย็บ (suture) ออก
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง ให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและ อันถัดไปด้านเดิม
-
-