Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (1) - Coggle Diagram
บทที่ 4.1
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (1)
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง
(Hyperemesis gravidarum)
มักเกิดขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 4-6 สัปดาห์ และจะหายไปเมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์
สาเหตุ
ระดับของฮอร์โมนที่สร้างจากรก HCG & Estrogen สูง
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ
ผลของ H.Progesterone ทำให้กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวช้าลง
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์ไข่ปลาอุก
อาการแสดง
อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
มารดาสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
3.อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
4.น้้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
2.อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 สัปดาห์
5.มีภาวะเลือดเป็นกรด
1.อาเจียนติดต่อกันมากกว่า 5-10 ครั้ง/วัน
อาการรุนแรงมาก
1.อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
2.อาเจียนทันทีภายหลังรับประทานอาหาร และอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
น้ำหนักตัวลดลงมาก
4.เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
ผลกระทบ
ด้านมารดา
ผลกระทบด้านร่างกาย
ผลกระทบด้านจิตใจ
ด้านทารก
คลอดก่อนกำหนด
การเจริญเติบโตช้าในครรภ
พิการหรือทารกตายในครรภ์
การดูแลรักษา
ให้ดื่มของอุ่นๆทันทีที่ตื่นนอน
หลังรับประทานอาหารไม่ควรนอนทันที
แนะนำการรับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เช่น น้ำหวาน นม
แนะนำให้รับประทานผลไม้
แนะนำการปรับแผนการรับประทารอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานประมาณ 2,500 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
ดูแลความสะอาดของปากและฟนั
แนะนำการพักผ่อนอย่างเพียงพอวันละ 6-8 ชั่วโมง
แนะนาให้รัประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
ป้องกันการเกดิ ภาวะขาดน้ำโดยการดื่มน้ำวันละ 2,500-3,000 มล. จิบทีละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
ให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
ให้วิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ B1, B6, B12
ให้การดูแลช่วยเหลือด้านจิตใจ
การพยาบาล
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
ดูแลรักษาความสะอาดของช่องปากและฟัน
บันทึก I/O
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
เมื่ออาการดีขึ้น ให้เริ่มรับประทานอาหารมื้อละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
ดูแลให้ NPO อย่างน้อย 24-48 ชม.
ติดตามชั่งน้ำหนัก
การตั้งครรภ์แฝด
(Multiple pregnancy)
สาเหตุ
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร
ภาวะทุพโภชนาการอาจลดการเกิดครรภ์แฝด
เชื้อชาติ (Race)
ยากระตุ้นการตกไข่ ได้แก่ Gonadotropin
กรรมพันธุ์ (Heredity)
Monozygotic (Identical) twins
แฝดชนิดนี้เป็นแฝดแท้ (True twins) เกิดจากการผสมของไข่ใบเดียว
กับเชื้ออสุจิตัวเดียวจนได้ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้วแยกตัวเองเป็น 2 ใบ โดยในแต่ละระยะก็จะพบลักษณะของรกและเยื่อถุงน้ำคร่ำแตกต่างกัน
Dizygotic (Fraternal) twins
แฝดชนิดนี้เป็นแฝดเทียม (False twins) เกิดจากการผสมของไข่ 2 ใบ กับเชื้ออสุจิ 2 ตัว จึงเสมือนหนึ่งเป็นพี่น้องกันเพียงแต่มาอาศัยอยู่ในมดลูกคราวเดียวกันเท่านั้น จึงพบ Diamniondichorion มีรก 2 อัน ไข่ 2 ใบ
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว
การตั้งครรภ์อายุมาก
รูปร่างใหญ่ น ้ำหนักมาก
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
น ้าหนักระหว่างตั้งครรภ์ เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าปกต
มีอาการบวมมากโดยเฉพาะที่ขา
คลำพบได้ Ballottement หรือคลำได้ทารกมากกว่าหนึ่งคน
การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
โดยดูระดับฮอร์โมน estriol เบต้า HCG HPL สูงกว่าปกติ
การตรวจพิเศษ
(X-rays)
(Ultrasonography)
ภาวะแทรกซ้อน
ตกเลือดหลังคลอด
สายสะดือย้อย
ติดเชื้อหลังคลอด
ทารกพิการโดยกำเนิด
คลอดก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
การดูแลรักษา
ระยะคลอด
1.ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดโดยการผ่อนคลาย
2.จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในรายทที่มีถุงน้ำคร่ำแตก
3.ให้ได้รับสารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดดำ
6.ภายหลังทารกคนแรกคลอดแล้ว ควรตรวจหน้าท้องมารดาเพื่อหาส่วนนำของทารกคนที2 ถ้าเป็นท่าปกติ ควรเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อเร่งคลอด แต่ท่าผิดปกติรีบทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ไม่ควรให้ทารกคนที่ 2 คลอดหลังจากทารกคนแรกคลอดนานเกิน 20 นาที
4.เจาะเลืดหากลุ่มเลือด เตรียมจองเลือด
5.ช่วยแพทย์ในการทำคลอดทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
3.ประเมินภาวะติดเชื้อ
4.การให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
5.ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม โดยเฉพาะการเลี้ยงบุตรแฝด
ทารกตายในครรภ์ (Dead fetus in utero)
สาเหตุ
preeclampsia หรือ eclampsia
เบาหวาน ภาวะโลหิตจาง
โรคติดเชื้อ
ความผิดปกติของโครโมโซม
การได้รับอุบัติเหติ
ครรภ์เกินกำหนด
อาการแสดง
1.หญิงตั้ครรภให้ประวตั ิว่าเด็กไม่ดิ้น มีเลือดหรือมีน้าสีน้าตาลออกทางช่องคลอด น้าหนัก ตัวลดลง เต้านมคัดตึงน้อยลง นุ่ม และเล็กลง
2.ตรวจหน้าท้อง พบระดับมดลูกต่ำกว่าอายุครรภ์ และคลำตัวทารกไม่รู้สึกว่าทารกดิ้นมากระทบมือ ฟัง FHS ไม่ได้ คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้ เนื่องจากกระดูกกะโหลกศีรษะเกยกัน
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
รู้สึกทารกไม่ดิ้น
ท้องเล็กลง
น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
การตรวจร่างกาย
ฟัง FHS ไม่ได้
คลำพบกะโหลกศีรษะนิ่มกว่าปกติ
HF < GA
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(X-rays)
ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ
(Ultrasonography)
Early fetal death ตายก่อน 20 สัปดาห์
Intermediate fetal death ตายระหว่าง 20-28 สัปดาห์
Late fetal death ตายตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
การดูแลรักษา
การรักษาก่อนเจ็บครรภ์คลอด
ติดตาม platelet count,PT,PTT
และ fibrinogen
การให้ oxytocin , การให้ prostaglandins
หัตถการเพื่อยุติการตั้งครรภ์
การรักษาระยะเจ็บครรภ์คลอด
พยายามให้คลอดเองทางช่องคลอด
การรักษาระยะหลังคลอด
ให้ยายับยั้งการหลั่งน้ำนม
การพยาบาล
ระยะก่อนคลอด
ติดตาม CBC, platelet count, PT,PTT และ fibrinogen
social support ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ
ให้ความรู้ในการบรรเทาความเจ็บปวดในระหว่างรอคลอด
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกับการคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลโดยให้มีความสุขสบายทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ
ให้ความรู้ในการวางแผนคุมกำเนิด
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การเจ็บครรภ์หรือการคลอดขณะอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 37 สัปดาห์ หรือ 259 วัน นับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
สาเหตุ
โรคร้ายแรงของมารดา
ห่วงอนามัยค้างอยู่ในโพรงมดลูก
ความผิดปกติของรก
ความผิดปกติของมดลูก
เนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่มผิดปกติ
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
มดลูกขยายโตกว่าปกติ มักพบจากการตั้งครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ
เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดหรือแท้งในระยะหลังของการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของทารกหรือรก
การติดเชื้อของน้ำคร่ำ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
กลไก
กล้ามเนื้อมดลูก (myometrium) จากการกระตุ้นของฮอร์โมน progesterone, estrogen และ
การยืดขยายของมดลูก
ปากมดลูก (cervix) ในระยะใกล้คลอดส่วนประกอบที่ส าคัญของปากมดลูก คือ collagen fibers จะถูกย่อยสลาย สารเดอร์มาแทน (dermatan) และคอนโดรทีน (chondroitin)
ฮอร์โมน progesterone, estrogen, oxytocin และ prostaglandin
การดูแลรักษา
แพทย์อาจพิจารณาให้ 17hydroxyprogesterone caproate 250 มก.
ประคับประคองให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป ยกเว้นกรณีที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้ยุติการตั้งครรภ์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การจำกัดกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การผ่อนคลายความเครียด เครียด
การนอนหลับพักผ่อน อย่างน้อย 8 ชม.
การป้องกันการติดเชื้อ ไม่ควรงดดื่มน้ำและกลั้นปัสสาวะ
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
งดการมีเพศสัมพันธ์
หลีกเลี่ยงการกระตุ้นหัวนม
สังเกตอาการเจ็บครรภ์คลอด
มาตรวจตามนัดทุกครั้ง
ประคับประคองการตั้งครรภ์ให้ดำเนินต่อไป
ดูแลให้ bed rest นอนตะแคงซ้าย
งดการ PV
กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2 ชม.
สอนเทคนิคการผ่อนคลายความเครียด
ดูแลให้ยายับยั้งการคลอดตามแผนการรักษา
ประเมิน UC ทุก 10 นาที หลังจากนั้นทุก 30 นาที และ 1 ชม. ตามลำดับ
กรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการคลอดก่อนกำหนดได้
ให้ ampicillin
ประเมิน UC และ FHS ทุก 30 นาที – 1 ชม.
เตรียมทำคลอด
รายงานกุมารแพทย์เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ เพื่อช่วยเหลือทารก
ส่งต่อทารกไปยังหน่วยทารกแรกเกิดวิกฤติ