Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ความผิดปกติของหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด
Stroke
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
ประวัติครอบครัว ประวัติเคยเป็นโรคStroke มาก่อน
เพศ ชาย> หญิง
อายุที่เพิ่มมากขึ้น
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้
โรคหัวใจและระบบไหลเวียน
TIA
เป็น HT DM สูบบุหรี่ สุรา
ไข่มันในเลือดสูง
อ้วน ไม่ออกกำลังกาย
อาการ
ระยะหลังเฉียบพลัน
ระยะฟื้นฟูสภาพ
ระยะเฉียบพลัน
มีอาการหมดสติ
IICP
ระบบหายใจและการทำงานของหัวใจผิดปกติ
ประเภทของ Stroke
Ischemia stroke
Hemorrhagic stroke
การประเมิน
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
ประวัติ
การรักษา
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการเตือนผู้ป่วยและครอบครัว
กรณีถ้าเป็น stroke หลอดเลือดแตกมีเลือดออกในสมองต้องได้รับการผ่าตัด
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
Thromboangiti
อาการ
ถ้าเป็นที่ขา จะมีสีผิวคล้ำจากการสกัดกั้นการไหลเวียนของเลือด
ผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ด้วยเรื่องหายใจหอบเหนื่อยเนื่องจากลิ่มเลือดไปอุดปอด
ล้าขา ปวดตื้อๆ
สาเหตุ
ระบบเลอดที่ไหลเวียนช้าลง
การที่เลือดมีการแข็งตัวง่าย
หลอดเลือดดำได้รับอันตราย
ภาวะหัวใจล้มเหลว ตับแข็ง
มีความพร่องของลิ้นกั้นหลอดเลือด
การรักษา
ป้องกันการแพร่กระจายของลิ่มเลือด
ป้องกันการเกิดPulmonary embolism
ละลายลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
หลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน ปกติหลอดเลือดดำจะไหลเวียนอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อมีภาวะหลอดเลือดดำหยุดไหลเวียนและจับตัวแข็งตัว Thrombosis ในหลอดเลือด เกิดที่เส้นเลือดผิวตื้นๆ มีอาการบวม ปวด
Hypotention
มี2 ประเภท
ความดันโลหิตสูงแบบไม่ทราบสาเหตุ การปฎิบัติตัว การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
ความดันโลหิตสูงมีสาเหตุ เช่นโรคไต ต่อมหมวกไต
การแบ่งระดับความดันโลหิตสูง
Stage 1 140/90-159/99 mmHg
Stage 2 160/100 mmHg
Prehypertension 120/80-139/89 mmHg
ปัจจัย
Blood volum
Resistance
Cardiac output
Hypertaensive crisis
Hypertensive urgency
Hypertensive emergency
ความดันโลหิตเกิดจากจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ และความต้านทานของหลอดเลือด
สาเหตุ
โรคของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติทางระบบประสาท
โรคไต
ความผิดปกติของหลอดเลือด
อาหารที่มีธัยรามีน
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
การได้รับยาบางชนิด
Renovascular disease
Pheochromocytoma
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศ
ประวัติครอบครัว
เชื้อชาติ
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้
อ้วนมาก
สารอาหาร โดยเฉพาะ Na
ภาวะเครีนยด
สารเสพติด บุหรี่ แอลกอฮอล์
พยาธิสภาพ
การควบคุมปริมาตรน้ำในร่างกาย
ตัวรับความดันโลหิตและตัวรับเคมีในหลอดเลือด
ระบบเรนนินแอนจิโอเทนซิน
ร่างกายมีระบบทำงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความดันโลหิต
การควบคุมตัวเองของหลอดเลือด
อาการ
เวียนศีรษะ มึนงง
เลือดกำเดาไหลแต่พบไม่บ่อย
ปวดสีรษะ ลักษณะปวดท้ายทอยโดยเฉพาะช่วงเช้า
หายใจลำบากขณะออกแรง มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจ
ผลกระทบของการที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นเวลานาน
ถ้ามีรอยแตกเล็กๆที่ผนังหลอดเลือด จะเป็นที่สะสมของไขมัน โปรตีน แคลเซียม
การทำงานของหัวใจมากขึ้น
มีการทำลายผนังหลอดเลือดแดง
มีการทำลายของอวัยวะต่างๆ สมอง ตา ไต หัวใจ
การรักษา
การรักษาแบบไม่ใช้ยา
การลดความเครียด
การออกกำลังกาย
งดบุหรี่แอลกอฮอล์
การลดน้ำหนัก
การลดเกลือ
การรักษาโดยการใช้ยา
Loop diuretic
Potassium sparing diuretic
Thiazide
ยาต้านอะดรีเนอจิก
ยาต้านแคลเซี่ยมเข้าเซลล์
ยาต้านระบบเรนินแอนจิโอเทนซิล
Peripheral artery disease
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
ความอ้วน
การรักษา
วิธีการละลายลิ่มเลือด
การกำจัดลิ่มเลือด
รักาาด้วยการผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงวิธีการดำเนินชีวิต
รักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด
สาเหตุ
ภาวะหลอดเลือดแข็ง เกิดจากการสะสมไขมันที่ผนังหลอดเลือด จนทำให้เกิดการตีบตัน
โรคหลอดเลือดแดงอุดตัน
อาการ
อาการเนื้อตายแห้ง
อยู่เฉยๆก็ปวด
ปวด ซีด คลำชีพจร ไม่ได้
ปวดขาเป็นพักๆ เมื่อออกแรงเดิน
อ่อนแรง ชาและรู้สึกเจ็บ
Varicose vein
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
ปัจจัยเสริม การยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ความร้อน การผูกรัด
อาการ
ถ้าเป็นรุนแรง อาการบวม ปวด ขามีสีคล้ำ
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บและติดเชื้อได้ง่าย
ปวดตื้อๆบริเวณขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
พยาธิสภาพ
ตวามผิดปกติของหลอดเลือดดำใต้ผิวหนัง เกิดจากลิ้นกันในหลอดเลือดเสียหน้าที่ ทำให้การไหลเวียนผิดปกติ