Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดและการควบคุมและป้องกันโรค - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดและการควบคุมและป้องกันโรค
การป้องกันและควบคุมโรคโดยยึดหลักธรรมชาติของการเกิดโรค
2.การป้องกันขั้นปฐมภูมิ
3.การป้องกันขั้นทุติยภูมิ
1.การป้องกันขั้นก่อนปฐมภูมิ
4.การป้องกันขั้ยตติยภูมิ
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
ชนิดของการสอบสวนทางระบาดวิทยา
1.การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
2.การสอบสวนการระบาด
แนวคิดของการเกิดโรค
การเกิดโรคในชุมชนไม่ใช่การสุ่มตัวอย่างแต่จะเกิดมากหรือน้อยหรือไม่เกิดขึ้นเลยในคนบางกลุ่มจึงต้องใช้ความรู้ทางระบาดวิทยาเพื่ออธิบายปัจจัยต่างๆที่่ทําให้บางคนหรือบางกลุ่มมีโอกาสป่วยมากกว่าปกติ
ระบาดวิทยากับงานสาธารณสุข
3.การป้องกันและควบคุมโรค
2.การสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ
1.การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังเชิงรุก
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มพื้นที่
การเฝ้าระวังเชิงรับ
การเฝ้าระวังพิเศษอืนๆ
การกระจายของโลก
สถานที่
บุคคล
เวลา
Case Control Study
ประชากร
ป่วย
มีปัจจัย
ไม่มีปัจจัย
ไม่ป่วย
มีปัจจัย
ไม่มีปัจจัย
Cross sectional Study
การศึกษา ณ เวลาใดเวลาหนึ่งแบบภาคตัดขวาง
ประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง
-ตรวจจับการระบาดของโรค
-ติดตามสถานการณ์โรค
-พยากรณ์การเกิดโรค
-อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค
-ประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรค
Cohort Study
ประชากร
มีปัจจัย E+
เกิดโรค
ไม่เกิดโรค
ไม่มีปัจจัย E-
เกิดโรค
ไม่เกิดโรค
ตัวอย่างระบบเฝ้าระวัง
-ระบบเฝ้าระวังโดยการรายงานผู้ป้วย รง 506
-ระบบเฝ้าระวังการติดเชือ HIV
-ระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
-ระบบเฝ้าระวังอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
-ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บการเฝ้าระวังเหตุการณ์
-ระบบเฝ้าระวังพิเศษในภาวะอุทกภัย