Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม Behavioral Theories, นางสาวพัชราภา ระโหฐาน เลขที่56 …
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม Behavioral Theories
มนุษย์ไม่ดีไม่เลว การกระทำของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมทุกชนิดของมนุษย์เกิดขึ้นจากการเรียนรู้และสามารถสังเกต โดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า(Stimulas) และ การตอบสนอง (Response) ที่อินทรีย์จะต้องสร้าง อันนำไปสู่ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม และทฤษฎีนี้ให้ความสนใจกับพฤติกรรมเพราะเห็นได้ชัด วัดได้ ทดสอบได้
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ (Operant Connectionism Theory)
Burrhus Skinner
สรุปอัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนอง
ขึ้นอยู่กับผลของการกระทำ คือ การเสริมแรง
ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer)
สิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อได้รับหรือนำเข้ามาในสถานการณ์นั้นแล้วจะมีผลให้เกิดความพึงพอใจ และทำให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น เช่น อาหาร คำชมเชย ฯลฯ
ตัวเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer)
สิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อตัดออกไปจากสถานการณ์นั้นแล้ว จะมีผลให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น เช่น เสียงดัง แสงสว่างจ้า คำตำหนิ ร้อนหรือเย็นเกินไป ฯลฯ
ลักษณะของตัวเสริมแรง
Material Reinforcers คือ ตัวเสริมแรงที่เป็นวัตถุสิ่งของ
Social Reinforcers เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ
เนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์สังคม
Verbal เป็นคำพูด เช่น การชม
Nonverbal ภาษากาย เช่น กอด
ctivity Reinforcers เป็นการใช้กิจกรรมที่ชอบทำที่สุดมาเสริมแรงกิจกรรมที่อยากทำน้อยที่สุด
Token Economy จะเป็นตัวเสริมแรงได้เฉพาะเมื่อแลกเป็น
Backup Reinforcers ได้
Positive Feedback หรือการให้ข้อมูลป้อนกลับทางบวก
จับเฉพาะจุดบวก มองเฉพาะส่วนที่ดี
Intrinsic Reinforcers หรือตัวเสริมแรงภายใน
เช่น การชื่นชมตัวเอง ไม่ต้องให้มีใครมาชม
การทดลองเริ่มโดยการจับหนูไปใส่กล่องทดลอง เมื่อหนูหิวจะวิ่งวนไปเรื่อย ๆ และไปเหยียบถูกคันโยก ก็จะมีอาหารตกลงมา ทำให้หนูเกิดการเรียนรู้ว่าการเหยียบคันโยกจะได้รับอาหารครั้งต่อไปเมื่อหนูหิวก็จะตรงไปเหยียบคันโยกทันที ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวถือว่าหนูตัวนี้เกิดการเรียนรู้แบบการลงมือกระทำเอง
การใช้การลงโทษ
1.Time-out คือ การเอาตัวเสริมแรงทางบวกออกจากบุคคล แต่ถ้าพฤติกรรมเด็กหยุดต้องเอากลับเข้ามาและเสริมแรงพฤติกรรมใหม่ทันที
Response Cost หรือ การปรับสินไหม คือ การดึงสิทธิ์หรือสิ่งของออกจากตัว เช่น ปรับเงินคนที่ขับรถผิดกฎ
Verbal Reprimand หรือ การตำหนิหลัก คือ ห้ามตำหนิที่ Personality ต้องตำหนิที่ Behavior ใช้เสียงและหน้าที่เรียบๆ
Overcorrection คือ การแก้ไขเกินกว่าที่ทำผิด
4.1. Restitutional Overcorrection คือ การทำสิ่งที่ผิดให้ถูก
4.2. Positive-Practice Overcorrection คือ การฝึกทำสิ่งที่ถูกต้อง
ใช้กับสิ่งที่ทำผิดแล้วแก้ไขไม่ได้อีก
4.3. Negative-Practice คือ การฝึกทำสิ่งที่ผิดเพื่อให้เลิกทำไปเอง
ข้อเสียของการลงโทษ
การลงโทษไม่ได้ทำให้พฤติกรรมเปลี่ยน แค่เก็บกดเอาไว้
แต่พฤติกรรมยังคงอยู่
บางครั้งทำให้พฤติกรรมที่ถูกลงโทษ เพิ่มขึ้น
เช่น โดนห้ามลางาน ก็เลยมาแกล้งคนอื่นที่ทำงาน
บางครั้งไม่รู้ว่าทำไมถูกลงโทษ
เพราะเคยทำพฤติกรรมนั้นแล้วไม่ถูกลงโทษ
ทำให้เกิดอารมณ์ไม่เหมาะสม และนำไปสู่การหลีกเลี่ยงและหลีกหนี
การลงโทษอาจนำไปสู่ความก้าวร้าว
การลงโทษไม่ได้ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสม
การลงโทษที่รุนแรงอาจก่อให้เกิดปัญหาทางกายและใจ
ธอร์นไดค์ (Thorndike)
เน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เรียกทฤษฎีนี้ว่าทฤษฏีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง(Connectionsm Theory) หรือทฤษฏีสัมพันธ์เชื่อมโยง
การทดลอง
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองโดยการตอบสนองมักมาเป็นรูปแบบต่างๆจนกว่าที่ดีหรือเหมาะสมที่สุดเรียกการตอบสนองนี้ว่า
การลองผิดลองถูก
(Trial and Error)
กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
กฎแห่งการฝึกหัด(Law of Excercise)
กฎแห่งการตอบสนอง (Law of Effect)
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory
อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov)
การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) คือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น
การทดลอง
กระดิ่ง = 🐶 น้ำลายไม่ไหล
ผงเนื้อ+กระดิ่ง = 🐶 น้ำลายไหล
ผงเนื้อ = 🐶 น้ำลายไหล
สั่นกระดิ่ง = 🐶 น้ำลายไหล
จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson)
นำทฤษฎีของ Pavlov มาเป็นหลักในการอธิบายการเรียนรู้
วัตสันเชื่อว่าพฤติกรรมต่างๆของมนุษย์จะเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
การทดลอง
การทดลอง 1 การวางเงื่อนไขความกลัว
เด็ก + เสียงดัง = กลัวและร้องไห้
เด็ก + 🐭 + เสียงดัง = ตกใจกลัวร้องไห้
เด็ก + 🐭 = เด็กไม่กลัว
เด็ก +🐭 = ตกใจร้องไห้
การทดลอง 2 การวางเงื่อนไขกลับ
🐭+ มารดา = ไม่กลัวสิ่งต่างๆ
เด็ก + 🐭 = เล่นกับหนูขาว
มารดาอุ้ม = ไม่กลัวสิ่งต่างๆ
สรุป
1.พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้นควบคู่กันไปอย่างสม่ำเสมอ
เมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมใด ๆ ได้ ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
นางสาวพัชราภา ระโหฐาน เลขที่56
ห้อง2B รหัส613601164