Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม Behavioral Theories - Coggle Diagram
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม Behavioral Theories
องค์ประกอบการเรียนรู้มี 4 ประการ
Drive
Stimulus
Response
Reinforcement
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงือนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory)
การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการ วางเงื่อนไข (Conditioning) คือ การตอบสนองหรือ การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการ สร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น เช่น การทดลองกับสุนัข ดังต่อไป
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ
(Operant Connectionism Theory)
พฤติกรรมทีเกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กำหนด หรือเลือกทีจะแสดงออกมาสว่นใหญ่จะเป็นพฤติกรรมทีบุคคลแสดงออก
ในชีวิตประจำวัน เช่น กิน นอน พูดเดิน ทำงาน ขับ รถ
การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกนิเนอร์
พฤติกกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเองไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่า
แนวคิดว่าพฤติกรรมทั้งหลายเกิดจากการที่ร่างกายเป็นตัวสั่งให้แสดงการกระทำเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือสถานการณ์ทั้งหลาย
การเสริมแรง
พฤติกรรมใดๆที่มีการเสริมแรงพฤติกรรมนั้นก็มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นซ้ำอีก ส่วนพฤติกรรมไดที่ไม่ได้นรับการเสริมเเรงพฤติกรรมนั้นมีแนวโน้มลดลงหรือหายไป
สิ่งเร้าที่สามารถทําให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลง เราเรียกว่าตัวเสริมแรง
(Reinforcer)
การลงโทษ (Punishment)
ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer)
สิงเร้าชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งเมื่อได้รับหรือนำเข้ามาในสถานการณ์นั้นแล้วจะมีผลให้เกิดความพึงพอใจและทำให้อัตตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น เช่นของขวัญ
ตัวเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer)
หมายถึง สิงเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อตัดออกไปจากสถานการณ์นั้นเเล้ว จะมีผลทำให้อัตตราการตอบสนองเปลี่ยนไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น
การใช้ การลงโทษ
1.Time-outคือ การเอาตัวเสริมแรงทางบวกออกจากบุคคล แต่ถ้าพฤติกรรมเด็กก็หยดุต้องเอากลับเข้ามาและเสริมแรง พฤติกรรมใหม่ทันที
Response Cost หรือ การปรับสินไหม คือ การดึงสิทธิหรือสิ่ของออกจากตัว เช่น ปรับเงินคนที่ขับรถผิดกฎ
3.VerbalReprimand หรือ การตำหนิเป็นหลัก
ลักษณะของตัวเสริมแรง
Material Reinforcers คือ ตัวเสริมแรงทีเป็นวัถุสิงของ เชน่ มือถือ ขนม
2.SocialReinforcers เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ
Activity Reinforcers เป็นการใช้กิจกรรมทีชอบทำทีสุดมาเสริมแรงกิจกรรมทีอยากทำน้อยทีสุด
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ (Thorndike)
เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยการตอบสมองจะมาในรูปแบต่างๆจนกว่าจะพบรูปแบบที่ดี เรียกการ ตอบสนองนี้ว่า
การลองผิดลองถูก
กฎแห่งความพร้อม Law of Readiness
กฎแห่งการฝึกหัด Law of exercise
กฎแห่งผลการตอบสนอง Law of effect