Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คนเก็บขยะ - Coggle Diagram
คนเก็บขยะ
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ (Occupational disease)
เกิดแผลติดเชื้อ จากการคัดแยกเศษอาหารและขยะติดเชื้อ
เกิดบาดทะยักจากการถูกของมีคมบาด
เกิดการระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ จากการสัมผัส และสูดดมสารอันตรายเป็นเวลานาน
เกิดอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้อาเจียน จากการสุดดมกลิ่นเน่าเหม็น
ปัจจัยที่ทำให้เกิดให้เกิดโรค
คนทำงาน
การแต่งกายที่ไม่เหมาะสมในการทำงาน เช่น การไม่สวมแว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือยาง รองเท้าบู๊ทยาง เป็นต้น เพราะรู้สึกอึดอัด ไม่สะดวกต่อการเก็บขยะ
การปฎิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง เมื่อพบขยะอันตราย
ไม่ทำความสะอาดร่างกาย และเสื้อผ้าทันทีหลังการสัมผัสขยะ รวมถึงการล้างมือก่อนทานอาหาร
อายุมากขึ้นความสามารถในการทำงานลดลง ทำให้เกิดการบาดเจ็บได้มาก
ประสบการณ์การทำงานทีมาก จะมีความระมัดระวังน้อยลง เพราะคิดว่าคุ้นชินกับงานแล้ว
สภาพการทำงาน
ท่าทางการทำงาน เกร็งข้อมือในการยกถุงขยะ/ถังขยะ การก้มลำตัว การบิดเอี้ยวลำตัว ยก ผลักดันขยะ ยืน นั่ง ปีนขึ้นลงรถบรรทุกขยะ
ลักษณะการทำงาน
เก็บจากถังขยะรวม จากถังขยะรวมที่จัดไว้ตามที่ต่าง ๆ
พนักงานประจำรถไปเก็บจากถังที่บ้านของแต่ละบ้านนำมาเทใสภาชนะ แล้วนำถังขยะกลับไปคืนไว้ที่เดิม
เก็บจากบ้านที่อยู่อาศัย
ทำงานในที่ที่เปียกชื้น
ยืน โหนตัว อยู่ท้ายรถบรรทุกขยะ
ปริมาณงานมากขึ้นตามจำนวนขยะที่มากขึ้น
ระยะเวลาในการทำงาน เฉลี่ยวันละ 6-10 ชั่วโมง/วัน
กระบวนการทำงาน คือ พนักงานเก็บขยะที่อยู่ประจำรถเก็บขยะมุลฝอยต้องปฎิบัติงานเป็นผลัด มีหน้าที่เก็บขยะตามอาคารบ้านเรือนและตามสถานที่ต่าง ๆ ในพื้นที่ที่ตนได้รับมอบหมาย ขนถ่ายขยะไปไว้ยังที่รองรับขยะเพื่อรอการกำจัด
สวัสดิการพื้นฐาน มีการจัดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ไม่เพียงพอต่อพนักงาน
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน
ด้านเคมี คือ กลิ่นเหม็นขยะ ฝุ่น สารเคมีจากขยะอันตราย ขยะอิเล็กทรอนิกส์
ด้านกายภาพ คือ แสงแดด เสียงดังจากรถบรรทุกขยะ
ด้านชีวภาพ คือ เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
ด้านจิตสังคม คือ ปริมาณงานที่มาก ทำงานรีบเร่งให้ทันเวลา
สิ่งแวดล้อมทั่วไป
การไม่แยกขยะของผู้ทิ้งขยะ
หูอื้อ มีเสียงดังในหูจากการทำงานบนรถเก็บขยะเป็นเวลาหลายชั่วโมง
ปวดต้นคอ หลัง ไหล่ แขน จากการยก แบกถังขยะ