Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 5.2 ความผิดปกติของเลือด และองค์ประกอบของเลือด, นางสาวนภัสสร …
บทที่ 5
5.2 ความผิดปกติของเลือด
และองค์ประกอบของเลือด
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
Physiologic Anemia of pregnancy
การตกเลือดก่อนคลอด
ธาลัสซีเมีย
การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
การติดเชื้อ
Iron deficiency anemia
Iron deficiency erythropoiesis
Iron deficiency anemia
Iron stores depletion
การจำแนกภาวะโลหิตจางที่พบในระหว่างการตั้งครรภ์
โลหิตจางจากการสร้างลดลง (จ านวน reticulocyte ใน peripheral blood ลดลง)
สาเหตุที่กระทบต่อเม็ดเลือดแดงเป็นหลัก ได้แก่ โลหิตจางจากการขาดเหล็ก, Pure red cell aplasia
สาเหตุที่กระทบต่อทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง ได้แก่ Megaloblastic anemia, Aplastic anemia
โลหิตจางจากเพิ่มการท าลาย (จำนวน reticulocyte ใน peripheral blood เพิ่มขึ้น)
Autoimmune hemolytic anemia
Hemolytic anemia เนื่องจาก oxidative stress
Thalassemia
การเสียเลือด
Sickle cell anemia
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
Physiologic anemia of pregnancy
โลหิตจางเนื่องมาจาก hemodilution ของ hypersplenism
การรักษา
การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ ให้ได้ในกรณีที่ไม่สามรถ tolerate oral iron กินได้น้อย มีปัญหาการดูดซึม หรือผู้ป่วยโรคไตที่ต้องที่ dialysis ซึ่งมีความปลอดภัยและจะเพิ่มระดับ Hb ได้เร็วกว่ารูปแบบรับประทานในช่วงสัปดาห์แรก แต่หลัง 40 วันพบว่าผลไม่แตกต่างกัน ในประเทศไทยมี 2ชนิด คือ ferrous sucrose และ iron dextran ( ร้อยละ 1 เกิดอาการแพ้หลังได้ iron dextran)
การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood มักไม่มีข้อบ่งชี้ในภาวะโลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก ยกเว้นภาวะ hypovolemia จากการเสียเลือดหรือในกรณีที่ต้องท าหัตถการในผู้ป่วยที่มีภาวะซีดค่อนข้างมาก
การให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม (ยา Ferrous Sulphate ขนาดเม็ดละ 300 มิลลิกรัม มีธาตุเหล็กผสมอยู่ 60 มิลลิกรัม จึงให้วันละ 1 เม็ด 3 ครั้ง) โดยพบว่าฮีโมโกลบินสูงขึ้น 0.3 หรือ 1.0 กรัมต่อสัปดาห์ภายใน 2-3 สัปดาห์หลังเริ่มยา แต่การให้ธาตุเหล็กเสริมผู้ป่วยอาจจะมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน และท้องเดิน ทางแก้ไขให้กินพร้อมกับอาหาร แล้วค่อยๆเริ่มกินจากวันละ 1เม็ด ถ้าไม่มีอาการคลื่นไส้ค่อยๆเพิ่มปริมาณขึ้นไปจนถึงวันละ 3 เม็ด
Thalassemia in pregnancy
ชนิดของ Thalassemia
α - thalassemia
ฮีโมโกลบินเอช/ คอนสแตนต์สปริง (hemoglobin H/ Constant Spring) (α -thal1/ Hb Constant
Spring)
ฮีโมโกลบินเอช (hemoglobin H; Hb H (α -thal 1/ α -thal 2)
โฮโมซัยกัสแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1 (homozygous α -thalassemia1) (α -thal 1/ α -thal 1)
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินคอนสแตนต์สปริง (homozygous hemoglobin Constant Spring) (Hb
Constant Spring/ Hb Constant Spring)
เบต้า- ธาลัสซีเมีย (β – thalassemia ) เกิดจากการลดลงของ β –chain
เบต้าธาลัสซีเมีย/ ฮีโมโกลบินอี (βo-thalassemia/hemoglobin E) (βo-thal/ Hb E)
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินอี (homozygous hemoglobin E; HbE/ Hb)
โฮโมซัยกัสเบต้าธาลัสซีเมีย (homozygous βo-thalassemia ) (βo-thal/ βo-thal)
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ถ้าพ่อหรือแม่เป็นพาหะ (เฮเทอโรไซโกต) เพียงคนเดียว โอกาสที่ลูกจะเป็นพาหะเท่ากับ 2 ใน 4
หรือ ครึ่งต่อครึ่ง แต่จะไม่มีลูกคนใดเป็นโรค
ถ้าพ่อและแม่เป็นพาหะที่ไม่เหมือนกัน แต่อยู่ในพวกเดียวกัน โอกาสที่ลูกจะเป็นโรคชนิดคอมพา
วนด์เฮเทอโรไซโกต เท่ากับ 1 ใน 4 เป็นพาหะแบบแม่เท่ากับ 1 ใน 4
พ่อและแม่เป็นพาหะของโรคทั้งคู่ บุตรจะมีโอกาสเป็นโรค 1 ใน 4 ไม่เป็นโรค 1 ใน 4 และมีโอกาสเป็นพาหะของ
โรค 2 ใน 4 ตามภาพ
อาการและอาการแสดง
เป็นพาหะ อาจมีอาการซีดเล็กน้อย หรือไม่มีอาการใดๆ ทำงานได้ตามปกต
เป็นโรค อาจมีอาการเล็กน้อย หรือมีอาการมาก จากภาวะ hemolytic anemia
Thalassemia face (Mongoloid face) ลักษณะหัวตาห่าง โหนกแก้มสูง ขากรรไกรใหญ่ ดั้งจมูกแบน หน้าผากตั้งชัน
เติบโตไม่สมวัย พบโตช้า เตี้ย น้ าหนักน้อยกว่าปกติ bone age ล่าช้ากว่าปกต
ตับม้ามโต ทำให้ท้องป่อง อึดอัด
Infection ง่าย
เหลือง
Hemochromatosis พบผิวหนังคล้ า เหล็กคั่งตามอวัยวะต่างๆ เช่นตับอ่อนเกิด DM , หัวใจ เกิด
Heart failure หรือ pericarditis , ต่อมไร้ท่อ เกิดการสร้า Hormone ผิดปกต
ซีด เหนื่อยง่าย ท างานหรือออกก าลังกายได้ไม่เท่าคนปกต
การรักษา
การให้เลือด มีเป้าหมายเพื่อให้เลือดให้พอเพียงที่จะลดการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ
(suppress ineffective erythropoiesis)
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย ยาที่ใช้คือ desferrioxamine (desferal)
การรักษาความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ในทารกที่เป็น hydrops fetalis มักจะทำแท้งเพื่อการรักษา
การดูแลในระยะคลอดและหลังคลอดที่ส าคัญ
ยาควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด
การตัดม้าม (Splenectomy)
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรดโฟลิกมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ ผลไม้ ผักใบเขียวโดยเฉพาะผักดิบ
นางสาวนภัสสร แนบชิตร์ รหัส 602701038