Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด, image, image, image, นางสาว…
ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
ความหมาย
การลดลงอย่างผิดปกติของระดับฮีโมโกลบินจากการสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง หรือจากการทำลายเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากผิดปกติ
การจำแนก
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
Physiologic anemia of pregnancy
hemodilution ของ hypersplenism
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
สาเหตุที่กระทบต่อเม็ดเลือดแดงเป็นหลัก เช่น ขาดเหล็ก
สาเหตุที่กระทบต่อทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย
Sickle cell anemia
Thalassemia
การเสียเลือด
Autoimmune hemolytic anemia
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
พิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนกำหนด
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอดสูงกว่าปกติ
อุบัติการณ์ของ Pregnancy induce hypertension สูงขึ้น
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การวินิจฉัยโลหิตจาง
การตรวจร่างกาย ซีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด,
การตรวจยืนยัน
การตรวจ Polymerase chain reaction (PCR) for a-thal 1 และ a-thal 2
การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
ความรุนแรง
Thalassemia major
กลุ่มที่มีอาการรุนแรงจาเป็นต้องได้เลือดเป็นประจำ
Thalassemia intermedia
กลุ่มที่มีอาการรุนแรงน้อยถึงปานกลางอาจได้รับเลือดเป็นบางครั้ง
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พ่อหรือแม่ฝ่ายหนึ่งเป็นโรคชนิดโฮโมไซโกต หรือคอมพาวนด์เฮเทอโรไซโกต อีกฝ่ายหนึ่งเป็นพาหะของธาลัสซีเมียพวกเดียวกัน
ถ้าพ่อและแม่เป็นพาหะที่ไม่เหมือนกัน แต่อยู่ในพวกเดียวกัน
ถ้าพ่อหรือแม่เป็นพาหะ
การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรดโฟลิกมาก
ให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด หรือเฟอรัสซัลเฟส
ทำแท้งตั้งแต่อายุครรภ์น้อย
ให้เลือด
ตัดม้าม
ให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย
การพยาบาล
ก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราเสี่ยงหรือทางเลือกเพื่อหลีกเลี่ยงการมีบุตรเป็นโรค,
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง
พักผ่อนอย่างเพียงพอและไม่ทำกิจกรรมที่หนักเกินไป
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์โดยแบ่งตามสาเหตุ
แนะนำการประเมินเด็กดิ้นของทารกในครรภ์
รักษาระดับฮีโมโกลบินให้อยู่ระหว่า 7-10 กรัม/เดซิลิตร ในรายที่ซีดมากอาจจะต้องให้เลือด
ในรายที่มีภาวะ Hydrop fetalis ให้ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว
ให้ธาตุเหล็กเสริมตามปกติ และให้ Folic acid เพิ่มรับประทานกรดโฟลิกเสริม 5 มก.ต่อวัน ทั้งก่อนและระหว่างการตั้งครรภ์
ระยะหลังคลอด
ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนาการรับประทานอาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด จากการประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือด
การดูแล breast feeding หลังคลอด
ระยะก่อนคลอด
ตรวจประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลการได้รับสารน้าและอาหารตามแผนการรักษา
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ให้นอนพักบนเตียงในท่านอนศีรษะสูง
ดูแลการบรรเทาความเจ็บปวด
ดูแลการให้สารน้า เลือด และยาตามแผนการรักษา
เตรียมช่วยเหลือการคลอด
นางสาว ณัฏฐ์พิชญา โสภา รุ่น35 รหัส 602701026