Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy) - Coggle Diagram
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
เป็นการตั้งครรภ์ที่มีจำนวนทารกในครรภ์มากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป ยิ่งมีจำนวนทากมากเท่าใด อัตราการ
สูญเสียทารกจะมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของทารก และความนำกัดพื้นที่ในโพรงมดลูก
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ (Heredity) มีรายงานพบว่า มารดาที่เป็นแฝดชนิด 2 ใบ มีอุบัติการณ์ของครรภ์แฝดใน
บุตรของตน 1:58 ส่วนพ่อที่เป็นแฝดชนิดไข่ 2 ใบ มีอุบัติการณ์ของแฝดในบุตรของตนเพียง 1:116 เท่านั้น
เชื้อชาติ (Race) ชาวนิโกร (ผิวดำ) พบอุบัติการณ์ของครรภ์แฝดมากกว่าชาวคอเอเชียน (ผิวขาว) และ
ชาวเอเซียน (ผิวขาว) พบอุบัติการณ์ของครรภ์แฝดมากกว่าชาวเอเซียน (ผิวเหลือง)
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร อายุยิ่งมากขึ้นหรือเคยคลอดบุตรหลายคน อุบัติการณ์ของ
ครรภ์แฝดยิ่งเพิ่มมากขึ้น
ภาวะทุพโภชนาการอาจลดการเกิดครรภ์แฝด พบว่าระหว่างการเกิดสงครามโลก อุบัติการณ์แฝด
ชนิดของครรภ์แฝด (Zygosity) สำหรับแฝดคู่ (Twins)
Monozygotic (Identical) twins แฝดชนิดนี้เป็นแฝดแท้ (True twins)
เกิดจากการผสมของไข่ใบ
เดียว กับเชื้ออสุจิตัวเดียวจนได้ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว แยกตัวเองเป็น 2 ใบ ขณะที่มีการแบ่งตัว Differentiation (clevage) ตั้งแต่ในระยะโมรูลา (Morula) จนเกิดตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งใช้เวลาเกือบ 2
สัปดาห
ชนิดของแฝด (Zygosity) สำหรับแฝดสาม (Triplets)
เกิดจากไข่ใบเดียวกับเออสุจิตัวเดียว Twinning ของไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ (Fertilized ovum) 2
ครั้ง (Repeat or double or Super twinning) แล้วภายหลังตัวอ่อนตัวหนึ่งตาย
การตรวจรกและเยื่อถุงน้ำคร่ำ ถ้าพบเป็น Monoamniotic monochorionic หรือ Diamniotic
dichorionic (รกอาจแยกกันหรือเชื่อมติดกัน) อาจเป็นแฝดชนิดไหนก็ได้
การตรวจหมู่เลือด (Blood group) ทั้ง Major และ Minor group ถ้าหมู่เลือดต่างกันแสดงว่า
เป็นแฝดจากไข่ 2 ใบ ถ้าเหมือนกันทุกกลุ่มน่าจะเป็นแฝดจากไข่ใบเดียว
การวินิจฉัย
ประวัติ เช่น มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว การตั้งครรภ์อายุมาก
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
2.1 น้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าปกติ
2.2 มีอาการบวมมากโดยเฉพาะที่ขา
2.3 ขนาดมดลูกโตมากกว่าระยะของการขาดประจำเดือน
2.4 คลำพบได้ Ballottement หรือคลำได้ทารกมากกว่าหนึ่งคน
2.5 คลำได้ส่วนเล็ก (Small part) มากกว่าธรรมดา
2.6 คลำได้ส่วนใหญ่ (large part) สามแห่งหรือมากกว่า
2.7 พบมีครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
การวินิจฉัยแยกโรค
ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy)
ครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
ทารกตัวโต (Macrosomia)
ทารกหัวบาตร (Hydrocephalus)
การตรวจภายใน
การตรวจพิเศษ
การดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์แฝด
ระยะตั้งครรภ
1.1 แนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกของการตั้งครรภ์ และมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
1.2 การให้สตรีตั้งครรภ์แฝดรับประทานอาหารที่มีประโยชน
1.3 การทำงานและการพักผ่อน ควรหลีกเลี่ยงงานที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหต
1.4 การทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย ไม่เครียดหรือวิตกกังวลมากเกินไป
1.5 งดการมีเพศสัมพันธ์และการกระตุ้นเต้านม เพราะการมีเพศสัมพันธ์และการกระตุ้นเต้านม
2 . ระยะคลอด
2.1 ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดโดยการผ่อนคลาย นวด ลูบหน้าท้อง
2.2 จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก
2.3 ให้ได้รับสารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดดำ
2.4 เจาะเลือดหากลุ่มเลือดเตรียมจองเลือด เพื่อป้องกันการตกเลือด
2.5 ช่วยแพทย์ในการทำคลอดทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
3.1 เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด โดยประเมินชีพจร การหายใจ ความดันโลหิต
3.2 ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
3.3 ประเมินภาวะติดเชื้อ โดยสังเกตลักษณะ สี จำนวนของน้ำคาวปลา
3.4 การให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
3.5 ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม
ภาวะแทรกซ้อน
โลหิตจาง (Anemia) เนื่องจากในครรภ์แฝดมีการเพิ่มปริมาณเลือดมากกว่าครรภ์เดี่ยวมาก
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Gestation hypertension)
การคลอดก่อนกำหนด (Premature labor)
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด (Premature rupture of membranes)
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ด้านมารดา
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placentae)
ด้านทารก
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Fetal death in utero)
คลอดก่อนกำหนด พบได้มากถึงร้อยละ 78 ในครรภ์แฝดค
ภาวะอันตรายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น
3.1 การติดเชื้อ พบในรายที่มีประวัติถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
3.2 การบาดเจ็บจากการคลอด อันเป็นผลจากการคลอดผิดปกติ หรือการทำสูติศาสตร์หัตถการ เช่น
กระดูกหัก มีก้อนเลือดตั่งที่ศีรษะ การแตกหรือบาดเจ็บของอวัยวะภายใน
3.3 การคลอดก่อนกำหนด
3.4 อื่นๆ เช่น จากการที่มีเส้นเลือดติดกันระหว่างแฝดทั้งสอง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากตั้งครรภ์แฝด พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
วัตถุประสงค์การพยาบาล สตรีตั้งครรภ์ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล
อัตราการหายใจอยู่ในเกณฑ์ปกติระหว่าง 16-24 ครั้ง/นาที ชีพจรอยู่ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที
ไม่มีอาการแสดงของภาวะการขาดออกซิเจน ได้แก่ ปลายมือปชายเท้าเขียว หายใจเหนื่อยหอบ
กิจกรรมการพยาบาล
ให้นอนพักผ่อนบนเตียง ไม่ลุกเดินโดยไม่จำเป็น
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชม.
ประเมินอาการของภาวะการขาดออกซิเจน ได้แก่ ปลายมือปลายเท้าไม่เขียว เยื่อบุตาและเยื่อบุช่อง
ปากไม่ซีด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนทางจมูก 5 ลิตร/นาท
ฟัง FHS ทุก 4 ชม. เพื่อประเมินสภาพของทารก ถ้า FHS > 160 ครั้ง/นาที หรือ < 110 ครั้ง/นาที
นางสาวนลิตา ลือโสภา รหัสนักศึกษา 602701041