Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Orem’s Self-Care Deficit Theory - Coggle Diagram
Orem’s Self-Care Deficit Theory
Human being
1) บุคคลต้องการสิ่งกระตุ้นที่มีระบบระเบียบและเจาะจง (deliberate inputs) ให้กับตนเองและสิ่งแวดล้อม
2) ความสามารถของบุคคล (Human agency) เป็นความสามารถในการกระทําอย่างจงใจในรูปของการดูแล
3) บุคคลมีโอกาสที่จะประสบกับข้อจํากัดในการดูแลตนเองและดูแลบุคคลที่อยู่ ภายใต้ความรับผิดชอบในการ ดํารงไว้ซึ่งชีวิตและหน้าที่ของตนเอง
4) บุคคลใช้ความสามารถในการค้นหา พัฒนา และถ่ายทอดวิธีการสนองตอบต่อความต้องการของตนเองและ ผู้อื่น
5) กลุ่มบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีโครงสร้างจะแบ่งงานกันรับผิดชอบเพื่อที่จะดูแลสมาชิกในกลุ่ม
มโนทัศน์หลักของ
ศาสตรการพยาบาล
1.บุคคล.
เป็นหน่วยเดียวของกายและจิต เป็นองค์รวมที่เป็นระบบเปิดและเป็นพลวัตร มีศักยภาพในการกระทําอย่างจงใจและมีเป้าหมาย มีความสามารถในการเรียนรู้ เกี่ยวกับตนเองและสามารถวางแผนระบบระเบียบ ในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการดูแลตนเองได้
2.สิ่งแวดล้อม
สิ่งที่ไม่สามารถแยกจากบุคคลได้
สิ่งแวดล้อมจะมีปฏิสัมพันธ์
กับบุคคลตลอดเวลา
สิ่งแวดล้อมของบุคคลแบ่งออกเป็น
4 ด้านที่มีความสัมพันธ์กัน
1.สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ
2.ด้านเคมี
3.ด้านชีวภาพ
4.ด้านสังคม
3.สุขภาพ
เป็นภาวะที่มีความสมบูรณ์
ของโครงสร้างการทําหน้าที่
ของกายและจิต
โอเรม ยังกล่าวถึงความผาสุก
(Well being)
ความผาสุกเป็นการรับรู้ถึงภาวะของตนเอง มีลักษณะของความสุขทางจิตวิญญาณ โดยสามารถคงสภาพความเป็นบุคคลไว้ได้
4.การพยาบาล
การช่วยเหลือทางสุขภาพที่มีลักษณะที่เฉพาะแตกต่างจากการช่วยเหลืออื่นๆ ที่บุคคลได้รับ
เป็นการกระทําที่มีเป้าหมายและจงใจเพื่อช่วยเหลือบุคคลที่ไม่สามารถดูแลตนเองหรือผู้ที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบอันเนื่องมาจากสุขภาพ
แนวคิดหลักของทฤษฎี
1.การดูแลตนเอง (selfcare) เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยความสมัครใจ เป็นการกระทําอย่างจงใจ
2.เรียนรู้ได้จากการมีปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสารกับบุคคลอื่นโดยมีเป้าหมายเพื่อความสมบูรณ์ในโครงสร้างและหน้าที่การทํางานของร่างกาย รวมทั้งพัฒนาการของมนุษย์
3.บุคคลที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่เป็นผู้มีสิทธิและความรับผิดชอบต่อการดูแลตนเอง เพื่อดํารงความเป็นเจ้าของชีวิตและสุขภาพของตนเองรวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อบุคคลที่อยู่ในความรับผิดชอบ
4.บุคคลจะเรียนรู้การกระทําและผลของการกระทําทั้งต่อตนเองและสิ่งแวดล้อมหรือสนองตอบความ ต้องการโดยการควบคุมปัจจัยที่อาจจะส่งเสริมหรือขัดขวางหน้าที่และพัฒนาการของตนเองเพื่อส่งเสริม สุขภาพ ความผาสุก และการมีชีวิต
1) ความต้องการโดยทั่วไปที่บุคคลทุกคนต้องการ (Universal self-care requisites)
2) ความต้องการเฉพาะในแต่ละระยะของพัฒนาการ (Developmental self-care requisites)
3) ความต้องการที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health (deviation self-care requisites)
มโนมติหลักของทฤษฎี (Major concept)
การดูแลตนเอง
(self-care)
เป็นการปฏิบัติกิจกรรมที่บุคคล
ริเริ่มและกระทําอย่างมีเป้าหมาย
1) ระยะการพิจารณาตัดสินซึ่งจะนําไปสู่การกระทํา
2) ระยะการกระทําและผลของการกระทํา
2.เป็นกิจกรรมที่ สามารถเรียนรู้ได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลในสังคมเพื่อ ดํารงรักษาชีวิต สุขภาพ และความผาสุกในชีวิต
ความพร่องในการดูแลตนเอง (self-care deficit)
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการ ดูแลตนเองและความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด (therapeutic self-care demand)
เป็นกิจกรรมการดูแลตนเองทั้งหมดที่จําเป็นต้องกระทําใน ระยะเวลาหนึ่งเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลตนเองที่จําเป็นเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
การดูแลตนเองที่จําเป็น
การดูแลตนเองที่จําเป็นโดยทั่วไป
(Universal self-care requitsits)
การดูแลตนเองที่จําเป็นตามระยะพัฒนาการ (Developmental self-care requisites)
การดูแลตนเองที่จําเป็นในภาวะเบี่ยงเบนด้านสุขภาพ (Health deviation self-care requisites)
ความสามารถในการดูแลตนเอง
(self-care agency)
เพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลตนเอง อย่างต่อเนื่อง ในการคงไว้ซึ่งกระบวนการดํารงชีวิต หรือส่งเสริมความสมบูรณ์ของโครงสร้าง การทําหน้าที่ และพัฒนาการของบุคคลและส่งเสริมความผาสุก
ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง กับการเรียนรู้
1) ความสามารถในการปฏิบัติการเพื่อการดูแลตนเอง
2) พลังความสามารถในการดูแลตนเอง
3) ความสามารถและคุณสมบัติขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นความสามารถที่จะรู้ ที่จะทํา และคุณสมบัติหรือปัจจัย ที่มีผลต่อการแสวงหาเป้าหมายของการกระทํา
ความสามารถในการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพา (Dependent care agency)
เป็นความสามารถที่จะปฏิบัติการดูแลบุคคลที่ต้องการการพึ่งพาได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีความเจ็บป่วย เรื้อรัง มีความพิการซึ่งต้องการการดูแลที่ซับซ้อน
ความสามารถทางการพยาบาล ระบบการพยาบาล (nursing system)
ความสามารถทางการพยาบาล เป็นความสามารถที่ได้จากการศึกษาและประสบการณ์ การปฏิบัติที่ ซับซ้อนที่ช่วยให้พยาบาลสามารถวินิจฉัยและให้การพยาบาลแก่บุคคลที่มีความบกพร่องในการดูแลตนเอง
ปัจจัยพื้นฐาน
(Basic conditioning factors)
เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด ปัจจัยพื้นฐานประกอบด้วย อายุ เพศ ระยะพัฒนาการ ภาวะสุขภาพ สังคมวัฒนธรรม การศึกษา อาชีพและประสบการณ์ชีวิต ระบบบริการสุขภาพ ระบบครอบครัว แบบแผนการดําเนนิชีวิต สิ่งแวดล้อมและแหล่ง ประโยชน์
การนําไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
1.ระยะของการใช้สติปัญญา
1) การวินิจฉัยและกําหนดปัญหา
2) การกําหนดระบบพยาบาลและการวางแผนการพยาบาล
ระยะของการปฏิบัติ
การวินิจฉัยและการกําหนดปัญหา
1.1 การประเมินสภาพโดยการรวบรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
1.2 การวินิจฉัยปัญหา และกําหนดปัญหา
กําหนดระบบพยาบาลและวางแผนการพยาบาล