Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Theory) - Coggle Diagram
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
(Interpersonal Theory)
ผู้ก่อตั้งทฤษฎี
เน้นพฤติกรรมของบุคคลเป็นผลมาจากการที่บุคคล
มีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นในสังคม
มนุษย์เป็นผลผลิตของการมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม
Harry Stack Sullivan
มีพื้นฐานจากความเชื่อทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
ประสบการณ์ชีวิตในวัยต้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อ
สุขภาพจิตของบุคคลในวัยหลังของชีวิต ประสบการณ์ที่สำคัญก็คือ
เน้นความวิตกกังวลและระบบตน (Anxiety and the Self-System)
ความต้องการพื้นฐาน
ความต้องการความมั่นคง (security) เป็นความต้องการเพื่อความคงอยู่อย่างมีความสุข ต้องการการยอมรับในสังคม ซึ่งเกิดจากการมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ความต้องการความพึงพอใจ (satisfaction) ซึ่งเน้นที่ความต้องการทางสรีรวิทยา
เช่น ความหิว การนอนหลับพักผ่อน เป็นต้น
ความวิตกกังวล
2) ความวิตกกังวลสามารถอธิบายและสังเกตได้ บุคคลที่อยู่ในภาวะวิตกกังวล สามารถบอกได้ว่าเขารู้สึกอย่างไรและแสดงออกทางพฤติกรรมอย่างไร
3) บุคคลพยายามที่จะดิ้นรนเพื่อขจัดความวิตกกังวลและ
เพิ่มความมั่นคงให้กับตนเอง
1) ความวิตกกังวลที่เริ่มมาจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
เกิดจากความวิตกกังวลของมารดาถ่ายทอดไปสู่บุตร
ระบบแห่งตน (Self-System)
เป็นเครื่องมือที่ทำให้บุคคลสามารถจัดการ
และหลีกเลี่ยงจากความวิตกกังวล
ซึ่งระบบแห่งตนตามแนวคิดของซัลลิแวน มีดังนี้
1) ฉันดี (Good me)
เป็นการมองภาพตนเองว่าเป็นคนดี ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์
ที่ได้รับความพึงพอใจ การยอมรับจากบุคคลสำคัญในชีวิต
เช่น ได้รับการดูแลอย่างอบอุ่นและการยอมรับจากมารดา
ที่แสดงความอ่อนโยนให้ความรักและมีความใกล้ชิดกับทารก
2) ฉันเลว (Bad me)
เป็นการมองภาพตนเองว่าเป็นคนไม่ดี เป็นคนเลว
ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่ไม่ได้รับการยอมรับ
หรือการสนับสนุนจากบุคคลสำคัญในชีวิต
เช่น มารดาปฏิเสธการให้ความรัก ความอบอุ่น ทอดทิ้ง หรือท่าทีต่างๆ
ที่แสดงต่อเด็ก มีผลให้บุคคลเกิดความวิตกกังวล
และมีปัญหาสุขภาพจิตตามมาได้
3) ไม่ใช่ฉัน (Not me)
เป็นการปฏิเสธตนเอง ซึ่งเป็นผลมาจากปฏิกิริยาตอบสนองต่อ
ความวิตกกังวลสูง เป็นเพราะปฏิสัมพันธ์ของมารดากับทารกนั้น
เกิดเป็นครั้งเป็นคราว
เช่น บางครั้งก็ห้าม บางครั้งก็กอดรัด บางครั้งก็ไล่
ทำให้เด็กเกิดความกลัวและความเครียดอย่างรุนแรง
ภาพของบุคคลที่มีต่อตนเองซึ่งสร้างขึ้นภายในขวบปีแรก
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ 7 ขั้นตอน
ขั้นก่อนวัยรุ่น (Pre- Adolescence) อายุ 11-13 ปี เริ่มมีวุฒิภาวะทางเพศ
มีการกล้าแสดงออกมากขึ้นและยังต้องการความเท่าเทียมกับผู้ใหญ่
ขั้นวัยรุ่นตอนต้น (Early Adolescence) อายุระหว่าง 13- 17 ปี
เป็นวัยที่มีความพอใจในเรื่องเพศ ต้องการคบเพื่อนเดียวกันและต่างเพศ ต้องการความเป็นอิสระไม่อยากพึ่งพาใคร
ขั้นวัยเยาว์ (Juvenile Era) อายุระหว่าง 5-12 ปี เป็นวัยที่เข้าโรงเรียน พัฒนาการทางร่างกายเร็วมากเริ่มรู้จักสังคม มีการร่วมมือและแข่งขัน เรียนรู้ที่จะควบคุมตนอง
ขั้นวัยรุ่นตอนปลาย (Late Adolescence) อายุ 17-19 ปี
ร่างกายเจริญเต็มที่ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความรู้และเขา้ใจตนเอง เรียนรู้บทบาทในสังคมได้ดี
ขั้นวัยเด็ก (Childhood) อายุ 18 เดือน - 5 ปี เป็นระยะที่เริ่มหัดพูด ฝึกออกเสียงได้ชัดเจน เริ่มมีเพื่อนและต้องการให้ผู้อื่นยมรับสถานภาพของตนเองปี
ขั้นวัยผู้ใหญ่ (Adulthood) อายรุะหวา่ง 20-30 ปี
เป็นวัยที่มีพัฒนาการทุกอย่างสมบูรณ์เต็มที่สร้างความสัมพันธ์
กับผู้อื่นสร้างหลักฐาน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ขั้นทารก (Infancy) อายแุรกเกิด -18 เดือน วัยนี้จะมีความสุข กับการใช้ปากในการตอบสนองความต้องการอาหารของตนเอง ด้วยการดูดหรือการเคลื่อนไหวร่างกาย
ด้วยการใช้ประสาทตาสัมผัสกับมือในการดูดนิ้วตนเอง