Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
"การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและท…
"การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ"
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์ปกติ
"
การตั้งครรภ์
" หมายถึง ลำดับเหตุการณ์ต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่เกิดการปฏิสนธิ (fertilization) ระหว่างตัวอสุจิกับไข่ การฝังตัว (Implantation) การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (embryonic growth) การเจริญเติบโตของทารก (fetal growth) และสิ้นสุดเมื่อทารกนั้นคลอด แบ่งเป็น 3 ระยะ
ไตรมาสที่ 2 (second trimester) เดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 6 (13-28 สัปดาห์)
ไตรมาสที่ 3 (third trimester) เดือนที่ 7 ถึง ครบกำหนดคลอด หรือประมาณ 29-42 สัปดาห์
ไตรมาสที่ 1 (first trimester) เดือนที่ 1 ถึงเดือนที่ 3 (1-12 สัปดาห์)
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
ระยะตัวอ่อน (Embryo period) สัปดาห์ที่ 2 – 8
มีการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงของอวัยวะ ความผิดปกติหรือพิการแต่กำเนิดจะเกิดขึ้นในระยะนี้ได้ง่าย
สัปดาห์ที่ 3-4 embryonic disc จะพัฒนาเป็นเซลล์ 3 ชั้น จะเจริญเป็นเนื้อเยื่อเพื่อสร้างเป็นอวัยวะต่างๆ ของตัวอ่อน (Embryo)
ectoderm
mesoderm
endoderm
ระบบแรกที่ทำหน้าที่ได้คือ Cardiovascular System
ระยะทารก (Fetal period) สัปดาห์ที่ 9 - ทารกคลอด
มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีการแยกความแตกต่างในหน้าที่ของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ
สัปดาห์ที่ 12 เห็นนิ้วมือ นิ้วเท้าชัดเจน แยกเพศได้
สัปดาห์ที่ 14 อวัยวะเพศปรากฎชัดเจน ทารกเริ่มมีขนอ่อน ผิวหนังบางจนเห็นเส้นเลือด
สัปดาห์ที่ 16 มารดารู้สึกว่าทารกเริ่มดิ้น (fetal movement) ดูดกลืนได้
สัปดาห์ที่ 20 ฟังเสียงหัวใจทารกโดยหูฟังได้
สัปดาห์ที่ 24 มีการเคลื่อนไหวของระบบหายใจ เริ่มมีการผลิตสาร surfactant
สัปดาห์ที่ 26 มีการรับรู้ทารกจะเคลื่อนไหวและตอบโต้ต่อแรงสั่นสะเทือนและหูทารกจะไวต่อคลื่นเสียง จดจำเสียงบิดา มารดาได้
สัปดาห์ที่ 30 สามารถเปิดเปลือกตาได้ ผมเริ่มขึ้นเต็มศรีษะ ผิวสีชมพู
สัปดาห์ที่ 34 หนัก 1500-2000 กรัม ยาว 40-42 cm. อวัยวะต่างๆพัฒนาเกือบสมบูรณ์ ยกเว้นปอด
ระยะก่อนตัวอ่อน (Pre-embryonic period)
เป็นระยะที่มีการรวมตัวของเซลล์ไข่กับสเปิร์ม
การปฏิสนธิเกิดขึ้นบริเวณท่อนำไข่หรือปีกมดลูก เกิดเซล์ใหม่ 1 เซลล์ เรียกว่า
zygote
มีการแบ่งตัวแบบ mitosis จับกันเป็นกลุ่มเรียกว่า
morula stage
มีการเรียงตัวใหม่กลายเป็น blastocyst ฝังที่มดลูก
trophoblast (เซลล์ที่อยู่ชั้นนอก) เป็นทางที่จะนำอาหารไปสู่ตัวอ่อน embryo และเป็นส่วนของรก
inner cell mass / embryoblast (เซลล์ที่อยู่ชั้นใน) เจริญเป็นตัวอ่อน (embryo)
การเกิดรกและเยื่อหุ้มทารก
(Placental and Fetal membrane development)
trophoblast
Cytotrophoblast (ชั้นใน)
mesenchyme
secondary villous stem
mesenchyme จะเจริญเป็นหลอดเลือดและเม็ดเลือดอยู่ภายใน secondary villi
tertiary villous setem
villi ที่งอกไปทางโพรงมดลูกจะฝ่อ กลายเป็นแผ่นบาง ๆ ส่วน villi ด้านตรงข้ามที่เจริญไปทางเยื่อบุมดลูก จะเจริญและแตกออกเป็นพุ่ม เกิดเป็น chorion frondosum
ภายหลังการฝังตัวสมบูรณ์แล้ว จะทำให้เกิด decidua ได้ 3 อย่าง
Decidua basalis
Decidua capsularis
Decidua vera
Syncytiotrophoblast (ชั้นนอก)
วันที่ 14-20 จะมีก้อนเนื้อที่มีโพรง เรียก primary villus stem
รกประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ด้านเด็ก (Fetal surface หรือ Chorionic plate) มีสีเทาอ่อนและเป็นมัน
ด้านแม่ (Maternal surface) คือ ด้านที่ติดกับผนังมดลูก มีสีแดงเหมือนสีลิ้นจี่
หน้าที่ของรก
การขับถ่าย
ความต้านทานหรือภูมิคุ้มกันโรค
แลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเลือดแม่กับเลือดลูก
สร้างฮอร์โมน เช่น H.C.G.
นำอาหารมาให้ทารกระหว่างตั้งครรภ์
เยื่อหุ้มเด็ก (Fetal membrane) ประกอบด้วย 2 ชั้น คือ
Amnion เยื่อหุ้มชั้นในที่ห่อหุ้มตัวเด็ก มีลักษณะบางใส ไม่มีเลือด มีของเหลวขังอยู่เรียกว่า
น้ำคร่ำ
Chorion เป็นเยื่อหุ้มชั้นนอก มีความหนา ขุ่น ขรุขระ แต่ไม่เหนียว
น้ำหล่อเด็กหรือน้ำคร่ำ (Amniotic fluid)
เป็นของเหลวที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเด็กชั้นใน (Amnion)
ความสำคัญของน้ำคร่ำ
เป็นเสมือนเบาะรอง Embryo ช่วยลดความกดดัน
ช่วยควบคุมอุณหภูมิให้อุ่นและคงที่
ป้องกันการกระทบกระเทือนต่อทารก
. ช่วยขยายปากมดลูกและเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก จะช่วยหล่อลื่นและทำความสะอาดช่องคลอด
ทำให้ Embryo สามารถเคลื่อนไหวและเปลี่ยนทิศทางได้สะดวก
เป็นที่สะสมของเสียของทารก
ป้องกันเชื้อโรคจากภายนอกเข้าสู่ทารกโดยตรง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ความรู้สึกลังเลใจ
การรู้สึกไม่ยอมรับการตั้งครรภ์
ความกลัวและความวิตกกังวล
เกี่ยวกับการมีบุตร
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์
ไตรมาสแรก หงุดหงิด ใจน้อยง่ายเมื่อเข้าสู่่ไตรมาสที่ 2 อารมณ์จะคงที่มากขึ้น ยอมรับการตั้งครรภ์
การคิดถึงแต่ตนเอง
(Introvertion) ต้องการพักผ่อนและอยู่ตามลำพังมากขึ้น
ความรู้สึกขัดแย้งระหว่างความต้องการที่จะพึ่งพาผู้อื่นกับความต้องการพึ่งพาตนเอง
การเปลี่ยนแปลงด้านภาพลักษณ์
โดยไตรมาสที่ 3 จะมีความรู้สึกอับอาย มีความรู้สึกด้านลบต่อภาพลักษณ์ของตนเอง
การเปลี่ยนแปลงด้านเพศสัมพันธุ์
ความรู้สึกทางเพศจะลดลงจากขนาดของมดลูกขยายใหญ่ขึ้น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของหญิงตั้งครรภ์
Reproductive Adaptations อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ช่องคลอด
เยื่อบุผนังช่องคลอดเปลี่ยนสีจากสีชมพูเป็นสีม่วง เรียกว่า Chadwick’s sign
ปากมดลูก (Cervix)
จะนุ่มและเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ เรียกว่า Goodell’s Sign
มดลูก (Uterus)
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ขนาด น้ำหนักและความจุ
Ovaries and Fallopian tubes
ไม่มีการตกไข (ovulation) และไม่มีประจำเดือน (amenorrhea)
Breasts
หัวนมมีขนาดใหญ่ขึ้น รอบหัวนมและลานนมมีสีเข้ม "primary areola" มีตุ่มเล็กๆเกิดขึ้นบริเวณรอบหัวนมและลานนมจากการขยายของต่อมไขมัน"Montgomery’s tubercle"
Cardiovascular Adaptations ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Cardiac changes
จะขยายใหญ่ขึ้นเล็กน้อย ตำแหน่งของหัวใจยกขึ้นเอียงไปทางซ้าย
Ausculatory changes
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของหัวใจทำให้เสียงที่ได้ยินจากการเต้นของหัวใจเปลี่ยนแปลงไป
Cardiac Output
เพิ่มขึ้นรวดเร็วในไตรมาสแรก สูงสุดในไตรมาส 2 และลดอย่างรวดเร็วในระยะหลังคลอด
Blood pressure
ไตรมาส 1 เท่ากับตอนตั้งครรภ์ ไตรมาส 2 ลดลง 5-10 mmHg และไตรมาส 3 ปกติเท่าไตรมาส 1
ฺBlood volume
เม็ดโลหิตแดงจะเพิ่มขึ้นช้าๆ ส่วนน้ำโลหิตเพิ่มขึ้นรวดเร็วในไตรมาส 1-2 เพิ่มสูงสุดเมื่อครรภ์ 34 สัปดาห์
White Blood cells
WBC เพิ่มขึ้นเล็กน้อย Platelet ไม่เปลี่ยนแปลง
Coagulation Factors
Fibrinogen เพิ่มขึ้น และปัจจัยการแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น
Respiratory Adaptations ระบบทางเดินหายใจ
กระบังลมถูกดันขึ้นข้างบน
ทรวงอกขยายออกทางข้าง ความจุปอดเพิ่มขึ้น
หายใจเร็วและแรงขึ้น
Endocrine Adaptations ระบบต่อมไร้ท่อ
Pituitary gland
สร้าง FSH และ LH ลดลง GH ลดลง HPLจะเพิ่มขึ้นและลดลงอย่างรวดเร็วหลังตั้งครรภ์ ส่วน Prolactin เพิ่มขึ้นมาก โดยจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตลอดการตั้งครรภ์
Thyroid gland
จะโตขึ้น สร้าง T4 เพิ่มขึ้นแต่มี P.B.I. เพิ่มขึ้นด้วยจึงไม่มีผลต่อการตั้งครรภ์
Parathyroid gland
สร้างพาราไทรอย์ H. เพิ่มขึ้นเพื่อนำแคลเซียมไปใช้ในการเจริญเติบโตของทารก
Adrenal gland
สร้าง Corticosteroid เพิ่มขึ้น
Pancreas
สร้างอินซูลินตามการเจริญเติบโตของรกและทารก
Placenta
สร้าง Estrogen ช่วยการเจริญเติบโตของมดลูก เพิ่มขนาดเต้านม สร้าง Progesterone และ HCG
Metabolism Adaptation
มีขบวนการ Metabolism สารอาหารมากขึ้น ร่างกายโปรตีน แคลเซียมและธาตุเหล็กเพิ่มมากขึ้น
Renal system Adaptations
Renal
ขยายใหญ่ขึ้น อัตราการกรองผ่านกลูเมอโรลัสเพิ่มขึ้นแต่การดูดซึมกลับลดลง
๊Urinary bladder
ปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้น ปัสสาวะบ่อย
Gastrointestinal systems Adaptations ระบบทางเดินอาหาร
ปากมีน้ำลายออกมาก เหงือกบวมแดง การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
Musculoskeletal system Adaptations ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ท่าเดินเตาะแตะคล้ายเป็ด กระดูกสันหลังโค้งงอ ข้อต่อกระดูกเชิงกรานและกระดูกหัวเหน่าจะยืดออก
Integrementary system Adaptations ระบบผิวหนัง
ใบหน้าคล้ำ (Choasma or Melasma gravidarum) ผิวคล้ำบริเวณแนวกลางหน้าท้องต่ำกว่าสะดือลงมา (Linea nigra) เกิดรอยแตกลาย
การปรับตัวเข้าสู่การบทบาทการเป็นมารดา
พัฒนกิจของการตั้งครรภ์ (Developmental task)
การยอมรับการตั้งครรภ์
การสร้างสัมพันธภาพกับทารกในครรภ์
การยอมรับการเปลี่ยนแปลงในตนเอง
การปรับตัวระหว่างสัมพันธภาพกับคู่สมรส
การเตรียมตัวเพื่อการคลอดและการเป็นมารดาคนใหม่
การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
Antenatal care : ANC
ยืนยันว่ามารดาตั้งครรภ์จริง
ตรวจวินิจฉัยความผิดปกติทั้งทางร่างกายและจิตใจ
วินิจฉัย /ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งต่อให้แพทย์
เตรียมความพร้อมร่างกายและจิตใจของบิดา มารดา
เตรียมการคลอดและบทบาทมารดาหลังคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
การซักประวัติ
ประวัติส่วนตัว
ประวัติครอบครัว เช่น โรคทางพันธุกรรม
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน เช่น ประวัติประจำเดือน,วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
การบันทึกผลการซักประวัติ
ระบบ GPPAL
P (Premature labour) = จำนวนครั้งของการคลอดก่อนกำหนด
A (Abortion) = จำนวนครั้งของการแท้ง
P (Para) = จำนวนครั้งของการคลอด
L (Living) = จำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่
G (Gravida) = จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ รวมทั้งการแท้งด้วย
ประวัติการคุมกำเนิด
ประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
วัดส่วนสูง/ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต
การตรวจครรภ์
คาดคะเนอายุครรภ์
จำนวนทารกในครรภ์
แนว ท่าและส่วนนำของทารก
การคงชีวิตอยู่ของทารกในครรภ์
Lie
แนวยาว(longitudinal Lie) ลำตัวทารกขนานกับลำตัวแนวยาวมารดา - Cephalic Presentation (Vertex)
แนวขวาง(transverse Lie) ลำตัวทารกขวางกับลำตัวแนวยาวมารดา - Shoulder Presentation
แนวเฉียง(oblique Lie) ลำตัวทารกเฉียงกับลำตัวแนวยาวมารดา - Shoulder Presentation
Presentation
Cephalic Presentation
Vertex presentation
Bregma Presentation
Brow Presentation
Face Presentation
Shoulder Presentation
Breech Presentation
Complete Breech
Incomplete Breech
Frank Breech
Footling Breech
Attitude
Moderate degree of deflexion ศรีษะเงย หน้าอกแอ่น
Slight degree of deflexion ศรีษะตั้งตรง
Flexion ก้มศรีษะคางชิดอก
Marked degree of deflexion แหงนท้ายทอยชิดหลัง
Position
วิธีการตรวจครรภ์
การดู
ขนาดท้อง ลักษณะผิวหนัง รูปร่าง การเคลื่อนไหว
การฟัง
FSH , Umbilical souffle , Uterine soffle , Fetal shoking sound
การคลำ
HF , Position , Presentation
การตรวจครรภ์ (Leopold maneuver)
Pawlik’s grip
คลำเพื่อตรวจหาส่วนนำ (presenting part) และ attitude ของทารก
Umbilical grip
คลำเพื่อตรวจหาหลังของทารกว่าอยู่ด้านใด
Fundal grip
คลำส่วนยอดมดลูกเพื่อตรวจหาระดับยอดมดลูก
Bilateral inguinal grip
การคลำเพื่อตรวจหาระดับของส่วนนำ และทรงของทารกในครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ/การตรวจพิเศษอื่นๆ
CBC , VARL , HIV , กลุ่มเลือด , HBsAg , UA
การประเมินภาวะจิตสังคม
ไตรมาสสอง มีการเตรียมรับบทบาทใหม่ของการเป็นมารดา
ไตรมาสสาม รู้สึกวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด
ไตรมาสแรก มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย
ตรวจขนาด รูปร่าง ความยืดหยุ่นเต้านม/ตรวจการคัดตึง ก้อนที่หัวนม
Pinch test
Hoffman maneuver แก้ไขหัวนมสั้น/บอด
Nipple puller แก้ไขหัวนมบอด
Waller test
การคาดคะเนอายุครรภ์และกำหนดวันคลอด
1st day of LMP (LMP) ประจำเดือนวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ประวัติลูกดิ้นครั้งแรก (quickening)
การวัดระดับยอดมดลูกจากการตรวจครรภ์ (fundal height)
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่ (ultrasonogram)
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
ประเมินความต้องการ
ไตรมาสที่ 1
การพักผ่อนและการนอนหลับ
การออกกำลังกาย
การทำงาน
การเดินทาง
การดูแลรักษาสุขภาพปากและฟัน
การรับประทานอาหารและยา
การมีเพศสัมพันธ์
การทรงตัวที่ถูกต้อง
การบริหารร่างกาย
อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนนัด
การมาตรวจตามนัด
การฉีดวัคซีน
ไตรมาสที่ 2
การดูแลผิวหนัง
การดูแลเต้านม
การแต่งกาย
ไตรมาสที่ 3
การเตรียมตัวเพื่อคลอดบุตร
การเตรียมตัวให้นมบุตร
อาการเจ็บครรภ์คลอด
การเตรียมของใช้สำหรับมารดา/บุตร
การดูแลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
จิตใจ
การปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารแข็งย่อยง่าย
รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ดื่มของอุ่นๆวันละ 6-8 แก้ว
ตื่นเช้าๆแล้วนอนต่ออีกประมาณ 15 นาที ก่อนจะทำกิจวัตรประจำวัน
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจว่าเป็นอาการปกติ
มีน้ำลายมาก
สาเหตุ
จากการเพิ่มของฮอร์โมนเอสโตรเจน
จิตใจ
การปฏิบัติตัว
แนะนำว่าเป็นอาการปกติและให้ลดอาหารจำพวกแป้งหรืออมลูกอมที่มีรสเปรี้ยว
เหงือกอักเสบ
สาเหตุ
การกระตุ้นของฮอร์โมนเอสโตรเจน
มีโลหิตมาคั่งมากขึ้น อาจมีเลือดออกได้ง่าย
การปฏิบัติตัว
ใช้แปรงขนอ่อนนุ่ม
เพิ่มอาหารโปรตีน ผัก ผลไม้
ดูแลสุขภาพฟันโดยปรึกษาทันตแพทย์
ร้อนในอก
สาเหตุ
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจะไปลดการทำงานและการย่อยของระบบทางเดินอาหาร
การปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส / อาหารรสจัด
ท้องผูก
สาเหตุ
มดลูกขยายใหญ่ขึ้น
การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
การปฏิบัติตัว
ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
รับประทานอาหารที่มีกาก เช่น ผัก ผลไม้
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำให้การเคลื่อนไหวของลำไส้ดีขึ้น
ฝึกนิสัยการขับถ่ายให้เป็นเวลา
ริดสีดวงทวาร
สาเหตุ
ลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง + มดลูกขนาดใหญ่ขึ้น
กดเส้นโลหิตดำ
ความดันในเส้นโลหิตสูง
เส้นโลหิตโป่งพองออก
การปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารที่มีกาก เช่น ผัก ผลไม้
ดื่มน้ำอย่างน้อย 8 แก้ว/วัน
ใจสั่น เป็นลม
สาเหตุ
หลอดโลหิตขยาย
การไหลเวียนโลหิตไปยังสมองไม่ดี
น้ำตาลในโลหิตต่ำ
เปลี่ยนอิริยาบถเร็วเกินไป
มีพยาธิสภาพของโรค
นอนหงาย
มดลูกกดเส้นโลหิตที่เข้าสู่หัวใจ
การปฏิบัติตัว
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
ให้นอนตะแคงซ้าย หรือกึ่งนอนกึ่งนั่ง
ตรวจความเข้มข้นของเลือด ถ้ามีอาการซีดควรพบแพทย์
เส้นเลือดขอด
สาเหตุ
มดลูกที่โต
กดทับโลหิตดำที่ผ่านจากอุ้งเชิงกรานมาสู่ช่องท้อง
ความดันในเส้นโลหิตสูงขึ้น
เส้นโลหิตเล็กๆโป่งพอง
การปฏิบัติตัว
ไม่ยืนหรือเดินเป็นเวลานานๆ
ให้นอนตะแคงซ้าย ยกเท้าสูง หรือยกขาขึ้นเวลานั่งโดยเฉพาะเวลาบ่ายหรือเย็น ประมาณ 5-10 นาที
พันขาด้วยผ้ายืด (elastic bandage ) หรือสวมถุงเท้ายืด (elastic stocking) จะทำให้การไหลเวียนของเลือดสะดวกขึ้น
ระมัดระวังการเกิดการบาดเจ็บตรงที่มีเส้นเลือดพองขอด
หายใจตื้นและลำบาก
สาเหตุ
มดลูกมีขนาดโตขึ้น
กะบังลมขยายตัวได้ไม่เต็มที่
การปฏิบัติตัว
นอนท่าศรีษะสูง
ปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุ
ตะคริว
สาเหตุ
ขาดความสมดุลของ Ca+ และ P
การปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงการใช้กำลังขาที่มากเกินไป
ดื่มนมและอาหารที่มีคุณค่า
นวดขา ดัดปลายเท้าให้งอขึ้น
ปรึกษาแพทย์เพื่อได้รับยาเสริม Ca+
ปวดหลัง ปวดถ่วงและปวดบริเวณข้อต่างๆ
สาเหตุ
มดลูกใหญ่
น้ำหนักถ่วงมาข้างหน้า
จุดศูนย์ถ่วงเลื่อน
แอ่นหลัง
การขยายของเส้นเอ็นที่ยึดข้อต่อของกระดูกเชิงกราน
เตรียมคลอด
การปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
การนั่งพับเข่า ยืน เดิน และนั่งในท่าที่เหมาะสม
บริหารกล้ามเนื้อหลังด้วยท่า Pelvic tilting
นวดหลัง
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย
ปัสสาวะบ่อย
สาเหตุ
มดลูกมีขนาดโตขึ้น
กดกระเพาะปัสสาวะ
ความจุของปัสสาวะน้อยลง
การปฏิบัติตัว
ดื่มน้ำมากในตอนกลางวันและดื่มน้อยลงในระยะก่อนนอน
ไม่กลั้นปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ การดื่มชา กาแฟ
ในไตรมาสที่สามควรหลีกเลี่ยงการถ่าย
ปัสสาวะในท่ายองๆ
อาการคัน
สาเหตุ
การยืดขยายของกล้ามเนื้อ
การปฏิบัติตัว
แนะนำการทำความสะอาดร่างกาย
ตัดเล็บให้สั้น ไม่ควรเกาบริเวณที่คัน
ทาครีมหรือน้ำมันทาผิว
หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ที่มีกรดหรือด่างสูง
หลีกเลี่ยงการใช้สารที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์หรือน้ำมันหอมระเหย
บวม
สาเหตุ
มีน้ำคั่งอยู่ในเนื้อเยื่อของร่างกาย
การปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงการเดินหรือยืนนานๆ
ขณะพักให้ยกเท้าให้สูงขึ้นเล็กน้อย
ถ้าบวมเป็นเวลานาน หรือบวมที่หน้า นิ้ว มือ หน้าท้อง ควรปรึกษาแพทย์
นางสาววราภรณ์ แพศักดิ์ เลขที่ 34 ห้อง 34/2 รหัสนักศึกษา 611501114