Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด, นางสาวนภัสสร แนบชิตร์ รหัส…
บทที่ 5
5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์(Pregnancy-induced hypertension)
เกณฑ์การวินิจฉัย และความหลากหลายของโรค (Diagnosis and spectrum of diseases)
. New-onset Proteinuria
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL OR
Urine Dipstick or Urine analysis reading ≥ 2+
Urine protein 24 hours ≥ 300 mg OR
Severe features
Impaired liver function คือ AST/ALT สูงกว่า 2 เท่าของค่า Upper normal limit หรือมีอาการปวดจุกใต้ลิ้นปี่รุนแรงและไม่หายไป (Severe persistence)
Renal insufficiency คือ Serum creatinine ≥ 1.1 หรือมากกว่า 2 เท่าของค่า Serum creatinine เดิมโดยไม่มีโรคไตอื่น
Thrombocytopenia คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
มีอาการปวดศีรษะหรือตาพร่ามัวที่เกิดขึ้นใหม
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg หรือ Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Pulmonary edema
New-onset Hypertension
Systolic BP (SBP) ≥ 140 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 90 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัดห่างกัน 15 นาที
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงก่อนตั้งครรภ์ (Chronic Hypertension: CHT)
กรณี Chronic HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่แนะน าให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38
สัปดาห์
เฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิด Preeclampsia with severe featur
การฝากครรภ์ครั้งแรก แนะน าให้เจาะเลือดเพื่อประเมิน Baseline CBC with platelet, BUN, Cr, AST, ALT,uric acid และส่งตรวจปัสสาวะเพื่อประเมิน Baseline urine protein 24 hr
พิจารณาให้ Low dose aspirin คือ Aspirin(81) 1x1 oral pc ตั้งแต่ GA 12-36 wks
การพิจารณาเลือก Anti-hypertensive agents
ประเภทของความดันโลหิตสูง
Chronic hypertension
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia : Preeclampsia ที่เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น
Chronic hypertension
Preeclampsia-eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จ าเพาะกับการตั้งครรภ์ (Pregnancy-induced
hypertension; PIH) ร่วมกับมีความผิดปกติของร่ายกายในหลายระบบ
หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Gestational hypertension
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็น Preeclampsia without severe features หรือ mild gestational
hypertension
กรณีอายุครรภ์ ≥37 สัปดาห์ พิจารณาให้คลอด
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ สามารถพิจารณา 'Expectant management'
วัดความดันโลหิต 2 ครั้งต่อสัปดาห์ หาก ≥ 140/90 mmHg ให้รีบมาตรวจก่อนนัด
แนะนำให้มาตรวจหาภาวะ Proteinuria สัปดาห์ละครั้ง
Strict bed rest พบว่าไม่มีประโยชน์
ตรวจ CBC c platelet และ Liver Function Test (LFT) สัปดาห์ละครั้ง
กรณีที่มี fetal growth restriction ควรประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยใช้ umbilical artery
Doppler velocimetry ร่วมด้วย
ให้มาตรวจคลื่นความถี่สูงทุก 2-4 สัปดาห์เพื่อดูการเจริญเติบโตของทารกและ และตรวจสุขภาพทารกทุก
สัปดาห์
แนวทางการดูแลทารกในครรภ์
เฝ้าระวังภาวะทารกโตช้าในครรภ์ (Intrauterine growth restriction; IUGR)
แนะน าให้ท า Fetal surveillance ด้วย NST 2 ครั้ง/สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
มีการตรวจ Ultrasonography
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะคลอด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา Magnesium sulfate
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะชัก
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Preeclampsia ในระยะคลอด
โรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์
(Heart Disease in Pregnancy)
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Class I และII
ถ้า Functional class เลวลงอาจจะต้องรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล
ให้ผู้ป่วยนอนพักมากๆ 10 ชั่วโมงในช่วงกลางคืน ครึ่งชั่วโมงหลังอาหารในแต่ละมื้อ หลีกเลี่ยงการ
ท างานหนัก ซึ่งจะท าให้หัวใจท างานมากขึ้น
การตรวจครรภ์ต้องประเมิน Functional Class ของหัวใจ อัตราการหายใจ ชีพจร และฟังเสียงปอด
ทุกครั้งเพื่อดูอาการแสดงอันดับแรกเมื่อจะเกิดหัวใจล้มเหลว
อาหารควรหลีกเลี่ยงอาหารเดิม และพยายามป้องกันไม่ให้น้ าหนักเพิ่มมากกว่า 10 กิโลกรัมตลอดการ
ตั้งครรภ์
ควรดูแลใกล้ชิดจากอายุรแพทย์โรคหัวใจ
แนะน าการให้หยุดสูบบุหรี่เพราะท าให้ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนได้ง่าย เฝ้าระวังในกลุ่มที่ใช้ยา
เสพติด
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจถือว่าเป็นครรภ์เสี่ยงสูง ควรนัดมาตรวจบ่อยกว่าธรรมดา ในระยะ 28
สัปดาห์ควรนัดตรวจทุก 2 สัปดาห์ต่อไปควรนัดตรวจทุก 1 สัปดาห์
โรคติดเชื้อ ระมัดระวังโรคติดเชื้อ
การฝากครรภ์ ควรแนะน าให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง
การรักษาด้วยยาในโรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติยา quinidine ใช้ในการรักษา atrial และ ventricular tachycardia ในระหว่างการตั้งครรภ์ได้
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตันยาต้านการแข็งตัวของเลือด (anticoagulants)
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
ยา hydralazine สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในการลด afterload ส่วน ACE inhibitor
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ
ยาห้ามเบต้า (beta-blocker) สามารถใช้ได้เพื่อควบคุมความดันโลหิตและอัตราการเต้นหัวใจเช่น labetalol ส่วนตัวอื่นพบว่ายังมีผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์
Digoxin สามารถใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวได้ร่วมกับการใช้ยาขับปัสสาวะ
ชนิดของโรคหัวใจ
โรคหัวใจที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive heart disease)
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ (cardiomyopathy)
กลุ่มที่มีอาการตัวเขียว (Cyanosis)
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrthymias)
กลุ่มที่มีแรงดันสูง (pressure overload)
กลุ่มที่มีปริมาตรเลือดเกิน (Volume overload)
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Class III และ IV
. ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะหัวใจวายในระยะหลังคลอด
ดูแลมารดาเกี่ยวกับการให้นมบุตรโดยมารดาโรคหัวใจ class 1,2 สามารถให้นมบุตรได้แต่ห้ามในราย
ที่มีภาวะหัวใจวายในขณะตั้งครรภ์หรือระหว่างคลอด
ให้การพยาบาลเพื่อลดการท างานของหัวใจ เพื่อป้องกันภาวะหัวใจวายในระยะคลอด
ให้ข้อมูลในเรื่องการคุมกำเนิด
ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไม่ให้หัวใจท างานหนักมากขึ้นในระยะตั้งครรภ์
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class II Slightly compromised มีการจ ากัดของ physical activity เล็กน้อย และจะสบายเวลาพักแต่ถ้าท ากิจกรรมตามปกติจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก (angina pain)
Class III Markedly compromised มีการจ ากัดของ physical activity มาก และจะสบายเวลาพักแต่ถ้าท ากิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อยจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก (angina pain)
Class I Uncompromised ไม่มีการจ ากัด physical activity สามารถท ากิจกรรมตามปกติโดยไม่มีอาการอ่อนเพลีย หอบเหนื่อย ใจสั่น อาการเจ็บอก (angina pain) หรืออาการที่บ่งถึง cardiacinsufficiency
Class VI Severely compromised ไม่สามารถท า physical activity ใด ๆ แม้ขณะพักก็จะมีอาการหอบเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก ได
นางสาวนภัสสร แนบชิตร์ รหัส 602701038