Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Atopic dermatitis ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง - Coggle Diagram
Atopic dermatitis ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
อาการและอาการแสดง
ระยะเด็ก
อาการผื่นจะเกิดเฉพาะที่มากกว่าในระยะทารก
มักเป็นบริเวณข้อพับและหลังเท้า
ระยะผู้ใหญ่
ผื่นที่เกิดขึ้นจะแห้งและเป็นแผ่นหนา
อาการส่วนใหญ่เกิดบริเวณหลังเท้า
ระยะทารก
เป็นปื้นแดง มีขอบเขตไม่แน่นอน
ขึ้นบริเวณแก้ม
เป็นตุ่มแข็งและตุ่มน้ำ ซึ่งอาจมีหนองและตกสะเก็ด
สาเหตุ
พันธุกรรม
เช่น หอบ หืด แพ้อากาศ
มีปัจจัยกระตุ้นให้เกิดผื่นมากขึ้น
เช่น สิ่งแวดล้อม การแพ้อาหาร สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ
การดูแล
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ทำความสะอาดด้วยน้ำสะอาดด้วยน้ำละลายด่างทับทิม 1:4,000 หรือน้ำเกลือ 0.9 วันละ 3-4 ครั้ง
เมื่อผื่นแดงดีแล้วต้องหยุดเช็ดทำความสะอาดมิฉะนั้นจะแห้งเกินไปทำให้ตึงและแตก ระยะนี้ไม่ควรให้ยาทา เมื่อผื่นแห้งดีไม่มีน้ำเหลืองไหลหรือมีตุ่มน้ำ
เริ่มใช้ยาทาครีมสเตียรอยด์ตามการรักษา
ของแพทย์
ถ้าเป็นรุนแรงให้ยารับประทานสเตียรอยด์จนกว่าผื่นจะแห้ง ซึ่งมักใช้เวลาประมาณ 7วัน แล้วลดขนาดยาลงจนหยุดยาภายใน 3สัปดาห์
ถ้ามีอาการอักเสบติดเชื้อ ให้รับประทานยา
ปฏิชีวนะนาน 7-10 วัน
ถ้าคันมากให้ antihistamine ซึ่งควรพิจารณาเฉพาะรายที่จำเป็น ผื่นคันบางชนิดใช้ยาทาอย่างเดียวก็หายได้
ระยะเรื้อรัง
ถ้าเป็นบริเวณกว้าง และผื่นไม่หนามาก ให้ใช้ส
เตียรอยด์ชนิดเจือจาง
ถ้าผื่นหนามาก ใช้ความเข้มข้นปานกลางถึง
เข้มข้นมาก
ในรายที่ผื่นทั้งหนาและแข็ง การใช้ยาทาอาจ
ไม่ดูดซึม อาจใช้วิธีฉีดยาที่บริเวณผื่น
การป้องกัน
การอาบน้ำ หลีกเลี่ยงสบู่ที่ระคายเคืองผิวมาก ๆ
เสื้อผ้า ใช้เสื้อผ้าที่อ่อนนุ่มไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ที่นอน ควรใช้ผ้าปูที่นอนที่ทำจากผ้าฝ้าย
การซักผ้า
การทำความสะอาดบ้าน
อาหาร
ต้นไม้และสัตว์เลี้ยงในบ้าน
การดูแลเด็กอาจมีอาการคัน ทำให้เด็กเกาแผล ดูแลตัดเล็บให้สั้น เบี่ยงเบนความสนใจของเด็กบ้างหรือหาอะไรให้เด็กทำ เพื่อป้องกันการเกาที่รุนแรง ซึ่งอาจทำให้เกิดบาดแผลหรือการติดเชื้อซ้ำซ้อนขึ้นได้
ข้อบ่งชี้ในการส่งต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
โรคเป็นรุนแรง ไม่ตอบสนองต่อการรักษาพื้นฐาน
กรณีสงสัยว่าอาจมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องร่วมด้วย
กรณีสงสัยการแพ้อาหารหรือสารก่อภูมิแพ้อื่น เพื่อทดสอบหาสาเหตุต่อไป
ความหมาย
เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่พบได้บ่อยในวัยเด็ก มีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ คือ มีอาการคันมากผิวหนังแห้งอักเสบ และมีการกำเริบเป็นระยะ ๆ
โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดได้แก่
ชนิดที่เกิดจากปัจจัยภายใน (intrinsic หรือ non IgE associated)
ชนิดที่เกิดจากปัจจัยภายนอก(extrinsic หรือIgE associated)
การวินิจฉัยโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
ตรวจร่างกาย
หรือสังเกตผิวหนังของผู้ป่วย เพื่อวินิจฉัยอาการหรือหาสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้ผิวแห้งและคัน
ตัดชิ้นเนื้อตรวจ
โดยนำตัวอย่างเนื้อเยื่อหรือเซลล์ในร่างกายไปส่องกล้องจุลทรรศน์ตรวจหาโรค
ทดสอบการแพ้ทางผิวหนัง
แพทย์อาจใช้สารก่ออาการแพ้กระตุ้นบริเวณท้องแขนหรือแผ่นหลังก่อน หรืออาจใช้วิธีอื่น ๆ เพื่อทดสอบอาการแพ้ทางผิวหนังตามดุลยพินิจของแพทย์
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
อาการทางผิวหนัง
เช่น อาการคันเรื้อรังและผิวลอกเป็นสะเก็ด หรือโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่อาจส่งผลให้ผิวหนังเปลี่ยนสี แห้ง แข็ง
มีลักษณะเป็นปื้น หากยิ่งเกาจะยิ่งคัน แต่หากเกาบ่อยครั้งก็อาจทำให้ผิวหนังแตกได้
เสี่ยงเกิดผิวหนังติดเชื้อจากแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัสมากขึ้น เช่น ไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเริม
เป็นผื่น
ผู้ป่วยอาจเป็นผื่นแพ้สัมผัส หรือผื่นผิวหนังอักเสบที่มือ โดยเฉพาะผู้ที่ทำงานสัมผัสกับสบู่ ผงซักฟอก ยาฆ่าเชื้อ และต้องมือเปียกอยู่บ่อยครั้ง