Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนตร์สั้น เรื่อง A Beautiful Mind - Coggle Diagram
ภาพยนตร์สั้น เรื่อง A Beautiful Mind
ประวัติส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
ภรรยาของผู้ป่วยชื่อนางอลิเซีย (Mrs. Alicia)
มีบุตร 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยไม่มีความรู้สึกไม่อยากมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมที่แปลก
โรคจิตเภท (Schizophrenia
สาเหตุ
2.ระบบสารเคมีในสมองสารเคมีในสมองที คือ โดปามีน (dopamine)
ความผิดปกติในส่วนอื่น เช่น มีช่องสมองโตกว่าคนปกติ
กรรมพันธ์ุ
อาการและอาการแสดง
รู้สึกว่าจู่ๆความคิดหายไปกระทันหัน
รู้สึกว่ามีการเปลี่ยนแปลงในร่างกายของตนเอง
รู้สึกว่าความคิดนั้นไม่ใช่ตัวเอง เป็นความคิดคนอื่นเอามาใส่ตน
หูแว่วได้ยินเสียงพร้อมกับเวลาตนเองคิด
ความคิดตนเองแพร่กระจ่ายไปทำให้คนอื่นรู้ว่าตนเองคิดอะไรอยู่
การรับรู้ปกติแต่มีการเชื่อมโยงความผิดปกติกับอาการหลงผิด
มีอารมความเชื่อและแรงพลักดัน
การวินิจฉัย
การประเมินทางด้านจิตวิทยา การสนทนา แบบสอบถาม
การวิเคราะห์ตัวอย่างเลือด MRI (การเอ็กซ์เรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)
DSM-5
A. มีอาการตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไปนาน 1 เดือน
B. ระดับความสามารถในด้านต่างๆลดลง
C. มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือน
D. ต้องแยกโรคจิตอารมณ์ โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้วออก
E. ต้องแยกโรคจิตที่เกี่ยวกับโรคทางกายและสารเสพติดออก
F. ผู้ป่วยที่มีประวัติกลุ่มออทิสติกหรือโรคการสื่อสานตั้ง แต่เด็ก
อาการสำคัญ
หวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้าย
วิ่งหนีด้วยความหวาดกลัวออกจากที่ทำงาน
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยเด็ก
เรียนเก่ง
ชอบทำอะไรด้วยตนเอง แต่เป็นคนเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหา ในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
วัยรุ่น
หันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์ และมุ่งมั่นในการเรียนจนจบปริญญาโททางด้านคณิตศาสตร์
ยังคงเป็นคนเก็บตัวและไม่มีเพื่อนสนิท
หลังจบปริญญาเอกและทำงาน
ผู้ป่วยเริ่มสร้างห้องทำงานลับที่ใช้ทำงานสายลับถอดรหัสจากนิตยสารต่างๆ ต่อมาผู้ป่วยมีแฟน และตัดสินใจแต่งงานกันในที่สุด
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการที่จะแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
มีภาวะอันตราย
พกอาวุธ
อาการก้าวร้าว
ทำร้ายตนเองและผู้อื่น
ทำลายตนเอง
มีความจำเป็นต้องได้รับการรับการบำบัดรักษา
มีความเจ็บป่วยเกิดขึ้น แต่ไม่ยินยอมเข้ารับการรักษา
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
สาเหตุ
ทางด้านร่างกาย
การได้รับอุบัติเหตุ
การทำงานของ Neurotransmitter ในสมองผิดปกติ
ความผิดปกติที่เกิดจากพันธุกรรม
การได้รับสารพิษ สารเคมีต่าง ๆ
การขาดการพักผ่อนที่เพียงพอ
ทางด้านจิตใจ
การใช้กลไกทางจิตป้องกันตนเองมากเกินไป
ความวิตกกงัวลในระดับสูง
เกณฑ์วินิจฉัย DSM-5
อาการและอาการแสดง
การมีความเชื่อ หรือความคิดไม่ตรงกับความเป็นจริง
ระแวงว่าตนถูกกลั่นแกล้ง
ผูกเรื่องเชื่อมโยงไปในแนวทางเดียวกัน
ส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีประสาทหลอน เช่น หูแว่ว
ประเด็นที่สงสัย
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ความคิดหลงผิด เช่น ระแวงว่าตนถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกปองร้าย
การรับรู้ทั้งในด้าน รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส ตัวอย่างเช่น หูแว่ว ภาพหลอนเช่นห็นคนที่คุ้นเคยมาพูดด้วย หรือได้ยินแต่เสียง
ผลข้างเคียงการรักษา
ในช่วงแรกหลังจากที่ได้รับยาผู้ป่วยมักจะมีอาการง่วงนอน ผลข้างเคียงการรักษา กระสับกระส่าย ปวดเมื่อย ตัวสั่น ตาพร่ามัว
การรักษาผู้ป่วยจิตเวชด้วยไฟฟ้า หากปวดเมื่อยจากการเกร็งกล้ามเนื้อให้ประคบร้อนหรือประคบเย็น หรือนวดเบาๆ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ครอบครัวจะมีส่วนช่วยในการรักษาผู้ป่วยอย่างไรบ้าง
ช่วยให้ครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรคจิตเภทและปัญหาเกี่ยวกับโรคนีช่วยให้ครอบครัวเข้าใจวิถีทางที่จะทำให้ผู้ป่วย มีอาการลดน้อยลงและเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยอยู่เสมอ
ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยคนในครอบครัว
ที่บ้าน ความเข้าใจของคนในครอบครัว ได้รับกำลังใจและการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว ที่โรงพยาบาล
ได้รับการรักษาและการบำบัดจากทีมสหวิชาชีพและสังเกตอาการหากเกิดเหตุฉุกเฉินอย่างใกล้ชิด