Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด - Coggle Diagram
บทที่ 5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
Anemia in pregnancy
สาเหตุ
การตกเลือดก่อนคลอด
ธาลัสซีเมีย
การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
การติดเชื้อ
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
อุบัติการณ์ของ Pregnancy induce hypertension สูงขึ้น
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอดสูงกว่าปกต
เพิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนก าหนดมากน้อยแล้วแต่ความรุนแรงของโรค
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ทารกตายในครรภ
ทารกน้ าหนักน้อย เพิ่มอัตราตายปริก าเนิด
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การจำแนก
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
สาเหตุที่กระทบต่อเม็ดเลือดแดงเป็นหลัก ได้แก่ โลหิตจางจากการขาดเหล็ก, Pure red cell
aplasia
สาเหตุที่กระทบต่อทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง ได้แก่ Megaloblastic anemia, Aplastic
anemia
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย
Thalassemia
Autoimmune hemolytic anemia
Sickle cell anemia
Hemolytic anemia เนื่องจาก oxidative stress
การเสียเลือด
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
โลหิตจางเนื่องมาจาก hemodilution ของ hypersplenism
Physiologic anemia of pregnancy
Iron deficiency anemia
การป้องกัน
แนะน าให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์ ยกเว้น มีข้อห้ามในการให้
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กโดยให้ความรู้โภชนศึกษาแก่หญิงที่มารับบริการคลินิกฝากครรภ์
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Iron deficiency erythropoiesis
Iron deficiency anemia
Iron stores depletion
การรักษา
การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดด า ให้ได้ในกรณีที่ไม่สามรถ tolerate oral iron กินได้น้อย มีปัญหาการดูดซึม หรือผู้ป่วยโรคไตที่ต้องที่ dialysis
การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood มักไม่มีข้อบ่งชี้ในภาวะโลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก ยกเว้นภาวะ hypovolemia
การให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม
Thalassemia in pregnancy
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ถ้าบุตรได้รับยีนผิดปกติจากพ่อและแม่เพียงคน
เดียว จะเป็นเพียงพาหะของโรค ซึ่งไม่แสดงอาการแต่สามารถถ่ายถอดความผิดปกติไปสู่ลูกหลานได้ แต่ถ้าบุตร
ได้รับยีนที่ผิดปกติจากทั้งพ่อและแม่จึงจะทำให้เป็นโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การแบ่งระดับของความรุนแรงของโรคตามการรักษา
Thalassemia major
กลุ่มที่มีอาการรุนแรงจำเป็นต้องได้
เลือดเป็นประจำ ร่วมกับให้ยาขับธาตุเหล็กอย่าง
สม่ำเสมอ
Thalassemia intermedia
กลุ่มที่มีอาการรุนแรง
น้อยถึงปานกลาง อาจได้รับเลือด
เป็นบางครั้ง
ชนิด
α - thalassemia
hemoglobin H/ Constant Spring
hemoglobin H
(homozygous α -thalassemia1)
(homozygous hemoglobin Constant Spring
β – thalassemia
βo-thalassemia/hemoglobin E
homozygous hemoglobin E
homozygous βo-thalassemia
ผลกระทบของ Thalassemia
. ผลต่อมารดา
เสี่ยงต่อการตกเลือด
มีอาการทางโรคหัวใจ
เกิด Pre-eclampsia
ติดเชื้อได้ง่าย
ผลต่อทารก
น้ำหนักน้อย, การเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
Fetal distress
ทารกตายปริกำเนิด
อาการและอาการแสดง
เป็นพาหะ
อาจมีอาการซีดเล็กน้อย หรือไม่มีอาการใดๆ ทำงานได้ตามปกติ
เป็นโรค
ตับม้ามโต ทำให้ท้องป่อง อึดอัด
Thalassemia face (Mongoloid face) ลักษณะหัวตาห่าง โหนกแก้มสูง ขากรรไกรใหญ่ ดั้ง
จมูกแบน หน้าผากตั้งชัน
เหลือง
เติบโตไม่สมวัย พบโตช้า เตี้ย น้ำหนักน้อยกว่าปกติ bone age ล่าช้ากว่าปกติ
Infection ง่าย
ซีด เหนื่อยง่าย ทำงานหรือออกกำลังกายได้ไม่เท่าคนปกติ
Hemochromatosis พบผิวหนังคล้ำ เหล็กคั่งตามอวัยวะต่างๆ เช่นตับอ่อนเกิด DM , หัวใจ เกิด
Heart failure หรือ pericarditis , ต่อมไร้ท่อ เกิดการสร้า Hormone ผิดปกติ
การคัดกรองโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง (red blood cell indices) ประกอบด้วย mean corpuscular volume (MCV)
OFT (osmotic fragility test) เป็นการทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง
การตรวจ Complete blood count: CBC
การคัดกรองพาหะฮีโมโกลบิน อี ด้วยวิธี ฮีโมโกลบิน อี สกรีน (Hb E screen)
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก (screening) เน้นการซักประวัติความเจ็บป่วยในอดีตและ
ปัจจุบัน รวมทั้งประวัติทางสูติกรรม
DCIP (dichlorophenol-indophenol precipitation test)
การรักษา
การให้เลือด
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย ยาที่ใช้คือ desferrioxamine (desferal)
เมื่อทราบตั้งแต่อายุครรภ์น้อยแพทย์
มักจะทำแท้งเพื่อการรักษา
การตัดม้าม (Splenectomy)
ควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด ผู้ป่วยที่เป็น thalassemia มีเหล็กสะสมอยู่มาก
จึงไม่ให้เหล็ก แต่อาจจะขาดธาตุเหล็กได้จึงควรให้เฟอรัสซัลเฟสแทน
การดูแลในระยะคลอดและหลังคลอดที่สำคัญ
ถ้าซีดมาก พิจารณาให้ Pack red cell
ระวังอาการหอบเหนื่อยหรือบวมที่เกิดขึ้นซึ่งอาจจะเป็นอันตรายต่อทารกด้วย
ระวังการติดเชื้อในระยะคลอดและหลังคลอด โดยเฉพาะที่ได้รับการตัดม้าม
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรดโฟลิกมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ ผลไม้ ผักใบเขียว
โดยเฉพาะผักดิบ
การพยาบาล
ในระยะคลอด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพทารกในครรภ
ตรวจประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลการบรรเทาความเจ็บปวด
ดูแลการได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ดูแลการให้สารน้ำ เลือด และยาตามแผนการรักษา
. เตรียมช่วยเหลือการคลอด
ให้นอนพักบนเตียงในท่านอนศีรษะสูง เพื่อลดการทำงานของหัวใจและลดการใช้ออกซิเจน
ในระยะหลังคลอด
ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำการรับประทานอาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด จากการประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือด
การดูแล breast feeding หลังคลอด
ในระยะตั้งครรภ์
แนะนำการประเมินเด็กดิ้นของทารกในครรภ์
แนะนำการป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำมารดารับประทานอาหารที่มีประโยชน์
รักษาระดับฮีโมโกลบินให้อยู่ระหว่า 7-10 กรัม/ดลในรายที่ซีดมากอาจจะต้องให้เลือด
แนะนำการพักผ่อนอย่างเพียงพอและการทำกิจกรรมต่างๆได้ตามปกติยกเว้นเมื่อทำแล้วรู้สึกเหนื่อย
อ่อนเพลียมาก
ระยะที่โลหิตจางมากควรตรวจสุขภาพทารกในครรภ์และเฝ้าระวังภาวะ IUGR
แนะนำให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง
ในรายที่มีภาวะ Hydrop fetalis ให้ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
ให้ธาตุเหล็กเสริมตามปกติ
ให้เลือดเพื่อรักษาระดับ Hb ให้อยู่ที่ระดับ ไม่ต่ ากว่า 7-10 g/dl