Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บำบัดหัตถการ - Coggle Diagram
บำบัดหัตถการ
การดามกระดูก
Bone Factute
ภาวะที่กระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป
ประเภทของการกระดูกหัก
แบ่งตามลักษณะแผล
Closed Fracture
Open Fracture
แบ่งตามลักษณะการหัก
Simple Fractue
Transverse Fracture
Impacted Fracture
Compression Fracture
Spiral Fracture
Greenstrick Fracture
Stress Fractute
Oblique Fracture
Avulsion Fracture
Pathologic Fracture
อาการ
อวัยวะผิดรูป
เคลื่อนไหวได้น้อยหรือไม่ได้เลย
อาการบวมบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
รู้สึกชา
ปวดกระดูกหรือรอบๆ อาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว
กระดูกทิ่มออกมา
สาเหตุ
ประสบอุบัติเหตุ
ถูกตีหรือได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรง
ตกจากที่สูง
โรคกระดูกพรุนหรือมะเร็งบางชนิด
การวินิจฉัย
X-ray
CT scan
MRI
การรักษา
ใส่เฝือก
จัดเรียงกระดูก
ผ่าตัด
การดามกระดูก
กระดูกปลายแขนหัก
ใช้ไม้แผ่นบางหรือหนังสือพิมพ์หนาๆให้มีความยาวตั้งแต่ปลายนิ้วถึงข้อศอกใช้เป็นเฝือก
พันด้วยเชือกหรือผ้ายืดให้กระชับคล้องคอแขนข้างที่หัก
กระดูกแขนและไหปลาร้าหัก
ใช้ผ้าคล้องแขนแล้วผูกกับคอ ใช้ผ้าอีกผืนรัดแขนข้างที่หักไว้ข้างลำตัว
ห้ามงอแขน ให้ตามในลักษณะตรง
กระดูกขาท่อนล่างหัก
ดามโดยใช้เฝือก 2 อันยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงเหนือเข่า และใช้ผ้าผูกติดกันเป็นเปลาะๆ
ใช้ผ้าหนาๆสอดระหว่างขาทั้ง 2 ข้างผูกกันเป็นเปลาะๆ
ระวังไม่รัดแน่นเกินไป และให้ปลายเท้าตั้งฉากเสมอ
กระดูกต้นขาหัก
ใช้เฝือก 2 ชิ้น ผูกให้ติดกับขาข้างที่หัก
ชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท่าถึงรักแร้
อีกชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงโคนขา
ห้ามล้างทำความสะอาด ถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือด
กระดูกสันหลังหัก
ไม่ให้เคลื่อนย้ายเอง
แจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์
กระดูกเชิงกรานหัก
ผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกัน สอดผ้าสามเหลี่ยมพับกว้าง 2 ข้าง ไวใต้ตะโพก
ผูกปมตรงกลางลำตัว วางผ้านุ่มๆระหว่างขา 2 ข้าง
บริเวณเข่าและข้อท้อ ผูกติดด้วยสามเหลี่ยมพับผูกเป็นเลข 8
ผูกผ้ารอบเข่าทั้งสองข้าง
ถอดเล็บ
สาเหตุ
เล็บขบซ้ำๆ หรือไม่ตอบสนองต่อยา
อุบัติเหตุที่เล็บ
ติดเชื้อบริเวณเล็บหรือเนื้อเยื่อใต้เล็บ
เล็บหนา
เกิดจาก
โรคสะเก็ดเงิน
ความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
อายุเพิ่มขึ้น
สวามใส่รองเท้าแน่นๆ
อาการแสดง
เล็บขบ
เล็บงอกโค้งผิดปกติ
มีเม็ดสีที่เล็บ
ติดเชื้อที่เล็บ
การอักเสบรอบเนื้อเล็บ
ขั้นตอนการถอดเล็บ
แพทย์พิจารณาว่าต้องถอดเล็บหมด หรือ ตัดบางส่วน
จัดท่าผู้ป่วย จากนั้นในสารละลายไอโอดีน หรือยาชา บริเวณนิ้วที่จะถอดเล็บ
ในกรณีติดเชื้อ จะให้ยาปฏิชีวนะ แล้วนำหนองใต้เล็บออกก่อน
ใช้ยางรัดบริเวณโคนนิ้วส่วนที่แห้ง แล้วบีบหรือกดข้างนิ้วในขณธถอดเล็บ เพื่อไม่ให้เลือดไหล
ล้างทำความสะอาดนิ้วอีกครั้ง ก่อนใช้เครื่องมือถอดเล็บ
หากเนื้อเยื่อใต้เล็บเสียหายมาก แพทย์จะใช้เครื่องจี้ด้วยไฟฟ้า กำจัดเนื้อเยื่อ แล้วเช็ดออกด้วยผ้าก๊อซ
อาจะทายาด้วยยาปฎิชัวนะ (ขี้ผึ้ง) และพันแผล
ภาวะแทรกซ้อน
ผื่นแพ้สัมผัส เกิดจากการใช้ยาทิงเจอร์หรือสาระละลายเบโซอีน
การติดเชื้อ
การดูแลหลังการถอดเล็บ
เปลี่ยนผ้าพันแผลทุกวัน
ไม่ให้แผลเปียกน้ำ
ยกมือหรือเท้าที่ถอดเล็บ ให้สูงกว่าหัวใจ ในช่วง 24 ชั่วโมงแรก
ประคบเย็น 15-20 นาที
ไม่สวมรองเท้าที่คับแน่น
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น มีเลือดออกมาก มีไข้ แผลบวมแดง ให้มาพบแพทย์
การได้รับยาชาเฉพาะที่
นิยมใช้
Lidocain
Novocaine
Protocaine
วิธีการใช้
ใช้ทาหรือหยอด
ฉีดเฉพาะที่
สกัดบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
สกัดเส้นปนะสาท
ฉีดที่ไขสันหลัง
หลักการฉีดยาชาเฉพาะที่
จ่าท่านอนให้สบาย
ไม่ควรฉีดยาเร็วและแรง
ก่อนทำต้องทดสอบก่อนว่าแพ้ยาชาหรือไม่
หลังฉีดยาชาต้องทเสอบโดยใช้ Tooth forceps จับผิวหนัง ว่าชาหรือไม่
ฝี
แบ่งตามบริเวณที่เกิด
ฝีที่ผิวหนัง
ฝีที่อวยัวะภายใน
ขั้นตอนการผ่าฝี
เช็ดบริเวณที่จะผ่าด้วย povidone iodine
ฉีดยาชา field block / local block และทดสอบยาชา
เลือกตำแหน่งที่นิ่มที่สุด กรีดโดยใช้ใบมีด เบอร์ 11 หงานคมขึ้น
ใช้ Arterial forceps ขยายปากแผล
ล้างหนองออกให้แผลสะอาด ด้วย 0.9% NSS ถ้าแผลลึกต้อง irrigate ใช้ gauza drain เข้าไป และปิดแผล
การเย็บแผล
ข้อห้าม
บาดแผลที่ถูกสัตว์กัด
แผลที่มีความลึกมาไม่สามารถทำความสะอาดแผลได้
แผลที่เสียเลือดมาก เกิดก้อนเลือด
ประเภทของแผล
บาดแผลฟกช้ำ
บาดแผลถลอก
บาดแผลตัด
บาดแผลฉีกขาด
บาดแผลทะลุหรือถูกแทง
บาดแผลถูกบีบหรือบด
บาดแผลถลก