Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์, นางสาว สาวิตรี คำแสนกอง เลขที่ 99 …
4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง
สาเหตุ
1.ระดับของฮอร์โมนที่สร้างจากรก HCG & Estrogen
ผลของ H. Progesterone
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน
อาการ
อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
มารดาสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
1.อาเจียนติดต่อกันมากกว่า 5-10 ครั ้ง/วัน
2.อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 ชั่วโมง
3.อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
4.น้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
5.มีภาวะเลือดเป็นกรด
3.อาการรุนแรงมาก
1.อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
2.อาเจียนทันทีภายหลังรับประทานอาหาร และอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
3.เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
ผิวหนังแห้ง ไม่ยืดหยุ่น ปากแห้ง ลิ ้นเป็นฝ้าขาว หนา แตก
ตาลึก ขุ่น มองภาพไม่ชัดเจน
ปัสสาวะขุ่นและออกน้อย ตัวเหลือง
ท้องผูก มีไข้ ความดันโลหิตลดลง
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ด้านมารดา
ผลกระทบด้านร่างกาย ได้แก่ น้ำหนักตัวลดลง
เกิดภาวะขาดสารอาหารภาวะขาดน้ำ
ร่วมกับความไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็คโทรไลต์
ผลกระทบด้านจิตใจ ได้แก่ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า
เกิดความรู้สึกสูญเสียการควบคุมตนเอง
ด้านทารก
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
พิการหรือทารกตายในครรภ์
การพยาบาล
1.อธิบายให้เข้าใจและตระหนักถึงปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะอาเจียนรุนแรง
2.ดูแลให้ได้รับยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
3.ดูแลให้ได้รับสารน ้าทางหลอดเลือดด าตามแผนการรักษา
4.NPO จนกว่าภาวะขาดน้ำจะได้รับการแก้ไข
5.บันทึก I/O ชั่งน้ำหนัก
6.ติดตามประเมินผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น ค่า electrolyte & urine for ketone
7.ภายหลังอาการดีขึ้นให้เริ่มจิบน้ำ ขนมปังกรอบ โดยเริ่มครั้งละน้อยๆ
8.แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง รับประทานอาหารที่มี P & Mg สูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นและรสจัด หรืออาหารที่ทำให้มีอาการมากขึ้น แนะนำการจิบเครื่องดื่มอุ่นๆ เช่น น ้าขิง รับประทานอาหารแข็งย่อยง่าย เช่น ขนมปังกรอบ ขนมผิง ข้าวตัง
ดื่มน้ำหรือของเหลวอื่นๆระหว่างมื้ออาหาร เพื่อป้องกันภาวะสูญเสียน้ำและความเป็นกรด
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
มาฝากครรภ์ตามนัด
การตั้งครรภ์แฝด
สาเหตุ
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียว (Monozygotic) ไม่ว่าจะ
เป็นแฝดคู่ แฝดสยามหรืออื่นๆ จะไม่ทราบสาเหตุ
แฝดที่เกิดจากไข่หลายใบ (Polyzygotic)
เชื่อว่าเกิดจากปัจจัยหลายประการ
กรรมพันธุ์ (Heredity)
เชื้อชาติ (Race)
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร
ภาวะทุพโภชนาการอาจลดการเกิดครรภ์แฝด
ยากระตุ้นการตกไข่
ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ ความสูงของร่างกายซึ่งพบว่าคนสูงจะมีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น
ชนิด
1.Monozygotic (Identical) twins
แฝดแท้ (True twins) เกิดจากการผสมของไข่ใบเดียว
กับเชื้ออสุจิตัวเดียวจนได้ไข่ที่ได้รับ
การปฏิสนธิแล้วแยกตัวเองเป็น 2 ใบ
Dizygotic (Fraternal) twins
เกิดจากการผสมของไข่ 2 ใบ กับเชื้ออสุจิ 2 ตัว
พบ Diamnion dichorion มีรก 2 อัน ไข่ 2 ใบ
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว การตั้งครรภ์อายุมาก
สตรีที่มีรูปร่างใหญ่ น้ำหนักมาก
มีประวัติเคยตั้งครรภ์แฝด
การตั้งครรภ์หลายครั้ง
การตรวจร่างกาย
น ้าหนักระหว่างตั้งครรภ์ เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าปกติ
มีอาการบวมมากโดยเฉพาะที่ขา ขนาดมดลูกโตมากกว่าระยะของการขาดประจำเดือน
คลำพบได้ Ballottement หรือคลำได้ทารกมากกว่าหนึ่งคน
คลำได้ส่วนเล็ก (Small part) มากกว่าธรรมดา คลำได้ส่วนใหญ่ (large part) สามแห่งหรือมากกว่า
พบมีครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
ฟังเสียงหัวใจทารกได้ 2 แห่ง อยู่ห่างจากกันคนละด้าน และมีอัตราแตกต่างกันอย่างน้อย 10 ครั้ง/นาที
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยดูระดับฮอร์โมน estriol เบต้า HCG HPL สูงกว่าปกติ
การตรวจพิเศษ
1.การถ่ายภาพรังสี ในช่วงครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
2.การตรวจด้วยเครื่องคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ด้านมารดา เช่น
1.โลหิตจาง (Anemia)
2.ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
3.การคลอดก่อนกำหนด
4.ถุงน ้าคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด
5.รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
6.รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placentae)
7.Vasa previa
8.ครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
ด้านทารก
1.ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Fetal death in utero)
คลอดก่อนกำหนด :
ภาวะอันตรายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น
ทารกตายในครรภ์
หมายถึง การตายของทารกก่อนคลอด
Early fetal death ตายก่อน 20 สัปดาห์
Intermediate fetal death ตายระหว่าง 20-28 สัปดาห์
Late fetal death ตายตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
อาการและอาการแสดง
1.หญิงต้้งครรภ์ให้ประวัติว่า เด็กไม่ดิ้น มีเลือดหรือมีน้ำสีน้าตาล
ออกทางช่องคลอด น้ำหนัก ตัวลดลง เต้านมดัดตึงน้อยลง นุ่มและเล็กลง
2.ตรวจหน้าท้อง
พบระดับดลูกต่ำกว่าอายุครรภ์ และคลำตัว
ทารกพบว่าไม่รู้สึกว่าทารกดิ้นมากระทบมือ
ฟัง FHS ไม่ได้
คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เช่น รู้สึกทารกไม่ดิ้น ท้องเล็กลง น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
การตรวจร่างกาย HF < GA , ฟัง FHS ไม่ได้ , คลำพบกะโหลกศีรษะนิ่มกว่าปกติ ตรวจพบมีสิ่งขับหลั่งสีน้ำตาลไหลออกจากช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การถ่ายภาพรังสี (X-rays)
Spalding’s sign แสดงว่ามีการเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
Deuel sign คือ มีการตั้งของของเหลวระหว่างชั้นไขมันของหนังศีรษะและ กะโหลกศีรษะ เป็นช่องว่างรอบ ๆ กระดูกกะโหลกศีรษะ
กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่ (aorta vena cava)
ของทารก Robert sign
3.2 ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
3.3 ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ไม่พบ FHR
กะโหลกศีรษะแยกออกเป็น 2 เส้น
การพยาบาล
ประเมินความเศร้าโศกของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
1.1 ระยะปฏิเสธ (denial of death of fetus)
1.2 ระยะโกรธ (anger)
1.3 ระยะต่อรอง (bargaining)
1.4 ระยะซึมเศร้า (depression)
1.5 ระยะยอมรับ (acceptance)
ประเมินประสบการณ์ การแก้ปัญหา หรือการเผชิญปัญหาเมื่อเกิดการสูญเสีย
ประเมินระบบสนับสนุน ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม
การปฏิบัติเกี่ยวกับ DFIU
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การติดเชื้อของน้ำคร่ำ
ความผิดปกติของทารกหรือรก
เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนด หรือแท้งในระยะหลังของการตั้งครรภ์
มดลูกขยายโตกว่าปกติ มักพบจากการตั้งครรภ์แฝด หรือครรภ์แฝดน้ำ
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
เนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่มผิดปกติ ทำให้ปากมดลูก
เกิดการบางตัวและเปิด ทั้งๆที่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
ความผิดปกติของมดลูก
ความผิดปกติของรก
ห่วงอนามัยค้างอยู่ในโพรงมดลูก
โรคร้ายแรงของมารดา
การชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อน
กำหนด เนื่องจากคำนวณอายุครรภ์ผิด
กลไกการเกิด
กล้ามเนื้อมดลูก (myometrium) จากการกระตุ้นของฮอร์โมน progesterone, estrogen และการยืดขยายของมดลูก
ฮอร์โมน progesterone, estrogen, oxytocin และ prostaglandin
ปากมดลูก (cervix)
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ด้านมารดา
เสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากการจำกัดกิจกรรมเป็นเวลานาน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
เกิดภาวะเครียด และความวิตกกังวล
เกี่ยวกับสุขภาพของทารกและค่าใช้จ่าย
ด้านทารก
ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก ได้แก่ RDS,Hypoglycemia
ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว ได้แก่ bronchopulmonary dysplasia, cerebral palsy เป็นต้น
ภาวะคลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง
ถึง 15 เท่าเมื่อเทียบกับทารกครบกำหนด
แนวทางการรักษา
หากไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก และไม่มีการบางตัวของปากมดลูก ไม่มีการรักษาใดๆ
หากมีการหดรัดตัวของมดลูก แต่ไม่มีการบางตัวของปากมดลูก วินิจฉัยว่าเป็นการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด ให้นอนพักอย่างเพียงพอ และให้สารน้ำอย่างเพียงพอ ( hydration ) เมื่อได้ผลดีไม่จำเป็นต้องได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
หากมีการหดรัดตัวของมดลูก และมีการบางตัวของปากมดลูก
วินิจฉัยว่าเป็นการคลอดก่อนกำหนด
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก ( Tocolytics agent )
ถ้าไม่สามารถยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกได้ ก็ พิจารณาให้ยาที่ไป
กระตุ้นให้ปอดสร้างสาร surfactant เพื่อลดการเกิดภาวะ RDS
ดูแลการคลอดและทารกหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะขาดออกซิเจน
GA< 24 สัปดาห์ ไม่ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
และไม่ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์
GA 24-34 สัปดาห์
bed rest
ให้ยา nifedipine , terbutaline
ให้ dexamethasone
GA >34 สัปดาห์
ไม่ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
หรืออาจยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด แต่ไม่ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ เพื่อยืดอายุครรภ์ลดภาระของ NICU ให้ยาปฏิชีวนะป้องกัน GBS ในระยะคลอด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
ชนิด
GA< 37 สัปดาห์ ถุงน ้าภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกเองก่อนที่จะเข้าสู่ระยะการเจ็บครรภ์คลอดที่แท้จริง (preterm PROMหรือ PPROM)
GA > 37 สัปดาห์ ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนคลอดนานเกิน 24 ชั่วโมง เรียกว่า ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนคลอดนาน (prolonged rupture of the membranes)
สาเหตุ
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ(chorioamnionitis)
มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
ครรภ์แฝด(twins) และครรภ์แฝดน้ำ (hydramnios)
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าขวาง CPD
รกลอดตัวก่อนกำหนด(abruptio placenta)
หรือรกเกาะต่ำ (placenta previa)
ปากมดลูกปิดไม่สนิท(cervical incompetence)
ปัจจัยส่วนบุคคลหรือพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
เช่น มีเศรษฐานะต่ำ สูบบุหรี่ มากกว่า 20 มวน/วัน
อาการและอาการแสดง
มีน้ำใสๆหรือน้ำสีเหลืองจางๆไหลออกทางช่องคลอดทันทีจนเปียก
โดยไม่เจ็บครรภ์
แนวทางการรักษา
ติดเชื้อ
รักษาโดยการให้ยาปฏิชีวนะ กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์และคลอด
แต่หากไม่มีอาการเจ็บครรภ์และถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วมานานเกิน 18-24 ชั่วโมง C/S
ไม่ติดเชื้อ
GA < 36 สัปดาห์ ให้ชักนำการคลอด
GA 34-36 สัปดาห์ ให้รักษาแบบประคับประคอง(expectant management) และชักนำการคลอด เพื่อป้องกันการติดเชื้อในโพรงมดลูก
GA 24-34 สัปดาห์ ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroids) dexamethasone ให้ยาปฏิชีวนะ และให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
GA< 24 สัปดาห์ อาจชักนำให้เกิดการคลอดหรือเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
ภาวะปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ
สาเหตุ
1) สาเหตุที่เกี่ยวกับทารก โดยแบ่งออกเป็นความพิการของทารก
2) สาเหต ุที่เกี่ยวกับมารดา ได้แก่ มารดาเป็นเบาหวาน
3) สาเหตุที่เกี่ยวกับรก เช่น เนื้องอกของรก chorioangioma เป็นต้น
4) ไม่ทราบสาเหตุ
อาการ
มีอาการแน่นอึดอัด หายใจลำบาก
คลำมดลูกทางหน้าท้องได้ขนาดโตกว่าระยะเวลาของการขาดประจำเดือน
คลำส่วนของทารกทางหน้าท้องได้ไม่ชัดเจน
ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ชัดเจน
ตรวจได้ลักษณะเหมือนเป็นคลื่นน้ำทางหน้าท้อง
แนวทางการดูแลรักษา
GA < 32 สัปดาห์แนะนำให้ทำ amnioreductionและอาจพิจารณาให้ร่วมกับ indomethacin
GA > 32 สัปดาห์ ให้เจาะน้ำคร่ำเพื่อบรรเทาอาการได้ ไม่แนะนำให้ indomethaciin
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ความหมาย
มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 500 มล. หรือ AFI ≤ 5 เซนติเมตร
สาเหตุ
ทารกในครรภ์มีความผิดปกติของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ไต ตับ มีถุงน้ำในท่อไต มีการอุดตันของทางออกกระเพาะปัสสาวะ
ความผิดปกติของโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ
ทากเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การรั่วของน้ำคร่ำก่อนกำหนดเป็นเวลานาน
การใช้ยาขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ยากลุ่ม prostaglandin synthase inhibitor เป็นต้น
การวินิจฉัยจากประวัติและตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
วัดดัชนีน้ำคร่ำ (Amniotic fluid index, AFI)
การรักษา
รายที่สัมพันธ์กับความพิการรุนแรงมักจะแนะนำให้เลือกยุติการตั้งครรภ์
รายที่มีภาวะทารกโตช้าในครรภ์มักจะเน้นการตรวจสุขภาพทารกในครรภ์และให้คลอดในช่วงเวลาที่เหมาะสม
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การจำแนก
Symmetrical IUGR ทารกในกลุ่มนี้จะมีอัตราการเจริญเติบตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์
Asymmetrical IUGR ทารกในกลุ่มนี้จะมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมี ผลกระทบน้อยกว่าส่วนอื่นๆ
Combined type หมายถึง ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน ซึ่งการเกิดภาวะแบบนี้จะมีผลต่อทารกในครรภ์มากกว่าทั้งขณะตั้งครรภ์และระยะหลังคลอด
สาเหตุ
สาเหตุจากมารดา เช่น น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์,
น้ำหนักที่ขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์, BMI,
สาเหตุจากตัวทารก multiple fetuses,
chromosome abnormalities (eg.Trisomy13, 18)
สาเหตุจากรก poor placental perfusion, placental disorder
แนวทางการดูแลรักษา
Screening for risk factors สตรีตั้งครรภ์ทุกราย
การซักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
ควรมีการตรวจวัด fundal height (FH) ทุกครั้งที่มาทำการฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
การตรวจติดตาม ultrasonography เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของทารก
การดูปริมาณน้ำคร่ำ
การ surveillance เช่น NST หรือ BPP
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน) หรือมากกว่า โดยเริ่มนับจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย (Last menstrual period : LMP)
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิด
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ BMI ≥ 25 kg/m2
ครรภ์แรกพบได้มากกว่าครรภ์หลัง
มีประวัติเคยตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
อายุของหญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี มีอัตราการตั้งครรภ์เกินกำหนดสูงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุมากกว่า
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ผลกระทบ
Morbidity and Mortality
ทารกตัวโตกว่าปกติ (Macrosomia)
ขี้เทาปนในน้ำคร่ำ และปัญหาการสำลักขี้เทา
การดูแลรักษา
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
Non stress test (NST)
Biophysical profile (BPP) หรือ Modified BPP
Contraction stress test (CST)
การวัดปริมาณน้ำคร่ำด้วยการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
การชักนำการคลอด
การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
ปัจจัยทางด้านสังคมประชากร
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและเป็นประจำเดือนเร็วขึ้น
ทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลงไป
การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
แนวทางการดูแลหรือการให้การพยาบาลมารดาวัยรุ่น
การประเมินพันธกิจของการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
การประเมินภาวะสุขภาพ จากการซักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินความรู้พื้นฐาน ด้านความรู้และทัศนคติ
การประเมินระดับสนับสนุนทางสังคมของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
การแท้งบุตร การตั้งครรภ์แฝด
การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด ปัญหาการคลอดยาก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความเสี่ยงต่อความผิดปกติด้านโครโมโซม
ความพิการแต่กำเนิด
ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
Macrosomia
อัตราตายปริกำเนิดพบว่าเพิ่มสูงขึ้น
การพยาบาล
การประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพ จากการซักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินความรู้พื้นฐาน
การประเมินระบบสนับสนุนทางสังคม
นางสาว สาวิตรี คำแสนกอง เลขที่ 99
รหัสนักศึกษา 602701100