Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (ต่อ), นางสาวณัฏฐ์พิชญา โสภา 602701026 -…
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (ต่อ)
ปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ Polyhydramnios
สาเหตุ
ความพิการของทารกในครรภ์
มารดามีภาวะเบาหวาน
ความผิดปกติของรก
การวินิจฉัย
ขนาดมดลูกใหญ่กว่าอายุครรภ์
คลําส่วนของทารกในครรภ์ได้ยาก
ฟังเสียงหัวใจทารกได้
ยาก
การวินิจฉัยด้วยอัลตราซาวด์ ตรวจ SDP , AFI
ผลกระทบ
มารดาหายใจลําบาก
คลอดก่อนกําหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อน
กําหนด
สายสะดือย้อย
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การรักษา
การดูดน้ําคร่ําออก (amnioreduction)
ยา
Indomethacin (Prostaglandin synthetase inhibitors)
Sulindac (nonsteroidal anti-inflammatory drug)
ในระยะคลอด ถ้าจําเป็นต้อง
เจาะถุงน้ําคร่ํา ให้ค่อย ๆ เจาะและปล่อยน้ำคร่ำให้ไหลออกมาช้า
ภาวะน้ําคร่ําน้อย (Oligohydramnios)
สาเหตุ
ทารกมีความผิดปกติของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติของโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ
ทากเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การรั่วของน้ําคร่ําก่อนกําหนดเป็นเวลานาน
การใช้ยาขณะตั้งครรภ์
prostaglandin synthase inhibitor
การวินิจฉัยจากประวัติและตรวจร่างกาย
มดลูกไม่ค่อยโตขึ้น
ความสูงของมดลูกน้อยกว่า
อายุครรภ์
การตรวจทางหน้าท้องจะคลําได้ส่วนของทารกได้ง่าย
ตรวจด้วยอัลตราซาวด์
วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำแบ่งเป็น
รุนแรงน้อย คือวัดได้ 1-2 ซม.
รุนแรงมาก วัดได้ น้อยกว่า 1 ซม.
วัดดัชนีน้ำคร่ำ
ก้ำกึ่งหรือน้อยกว่าปกติ คือวัดได้ 5-8 ซม.
น้ำคร่ำน้อยวัดได้น้อยกว่า 5 ซม.
การรักษา
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion)
แนะนำมารดาการดื่มน้ํามาก ๆ
สารเคลือบ (sealants) เช่น fibrin glue, gelatin sponge, amnio patch อาจใช้อุดรูรั่ว
ภาวะน้ําคร่ําอุดตัน (Amniotic Fluid Embolism ,AFE)
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่มีความรุนแรง
ภาวะความดันโลหิตต่ําอย่างทันทีทันใด (hypotension)
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (consumptive coagulopathy)
ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
สาเหตุ
คลอดเร็ว
มารดาอายุมาก
เคยตั้งครรภ์หลายท้อง
จากหัตถการต่าง ๆ
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดง
1.ระยะแรกภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว (hemodynamic collapse)
ระยะที่สองภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulopathy)
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้วและมีทางติดต่อกัน
กับเส้นเลือดมารดา มีการหดรัดตัวของมดลูกส่งเสริมให้น้ำคร่ำเข้าไปในหลอดเลือดมารดามากขึ้น
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Fetal Growth Restriction or Intrauterine growth restriction)
ประเภท
Symmetrical IUGR เจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
Asymmetrical IUGR จะมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อยกว่า
Combined type ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน
สาเหตุ
รก เช่น placental mosaicism, poor placental perfusion,
chromosome abnormalities
multiple fetuses,
โรคของมารดา
การใช้สารเสพติดต่างๆ
ปัญหาเกี่ยวกับการรับประทาน
อาหาร ภาวะโภชนาการ,
การวินิจฉัย
คือติดตามผลการตรวจร่างกายและตรวจครรภ์
Ultrasound โดยทําทุก 3-4 สัปดาห์(ไม่ถี่กว่าทุก 2 สัปดาห์)
การวัดค่า parameter ต่างๆ
การตรวจหา Fetal structural anomalies
การตรวจหา Fetal structural anomalies
การวินิจฉัยหลังคลอด โดยการเทียบน้ำหนักคลอดกับค่ามาตรฐานในแต่ละอายุครรภ์
แนวทางการดูแลรักษา ติดตามการตั้งครรภ์
การตรวจคัดกรองหาปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะโตช้าใน
ครรภ์
ควรมีการตรวจวัด fundal height
(FH)
ultrasound โดยเฉพาะในรายที่ประเมิน FH
ได้ยาก
ตั้งครรภ์เกินกําหนด
ความหมายการตั้งครรภ์ที่
มีอายุครรภ์ มากกว่า 42 สัปดาห์เต็ม
สาเหตุ
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ (Prepregnancy body mass index : BMI) ≥ 25 kg/m2
ครรภ์แรก (Nulliparity) พบได้มากกว่าครรภ์หลัง
มีประวัติเคยตั้งครรภ์เกินกําหนดมาก่อน
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
รกเสื่อมสภาพ (Placental dysfunction)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์(Fetal-Growth restriction)
ผลกระทบของการตั้งครรภ์เกินกําหนดต่อทารก (Perinatal risks)
Morbidity and Mortality
ทารกตัวโตกว่าปกติ(Macrosomia)
ขี้เทาปนในน้ําคร่ํา และปัญหาการสําลักขี้เทา (Meconium staining and Pulmonary aspiration)
การดูแลรักษา
การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
Non stress test
Biophysical profile (BPP)
Contraction stress test
การวัดปริมาณน้ําคร่ําด้วยการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
การชักนําคลอด (Induction of labor)
ให้ยา Prostaglandin E2 : PGE2Prostaglandin
E1 : PGE1
การใช้ Balloon catheter สอดทางช่องคลอด
การเจาะถุงน้ําคร่ํา (amniotomy)
การให้ยา Oxytocin ทางกระแสเลือด
มารดาวัยรุ่น
ปัจจัยที่ทําให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ปัจจัยทางด้านสังคมประชากร
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและเป็นประจําเดือนเร็วขึ้น
ทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลงไป
การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม เช่น ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว การมีเพศสัมพันธ์ในสายเลือด วัยรุ่นที่ขาดความมั่นใจในความเป็นผู้หญิงของตน
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลกระทบทางด้านร่างกาย
ผลกระทบทางด้านจิตใจ เมื่อมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น
ผลกระทบด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อบุตร
การยอมรับการตั้งครรภ์
การสร้างสัมพันธภาพกับทารกในครรภ์
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในตนเอง
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสัมพันธภาพกับคู่สมรส
การเตรียมการคลอดและการเป็นมารดา
การยอมรับบทบาทการเป็นมารดา
แนวทางการดูแลหรือการให้การพยาบาลมารดาวัยรุ่น
การประเมินพันธกิจของการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
ประเมินการยอมรับการตั้งครรภ์
ประเมินสัมพันธภาพระหว่างหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นกับทารกในครรภ์
การประเมินการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในตนเอง
การประเมินเกี่ยวกับสัมพันธภาพกับคู่สมรส
การประเมินเกี่ยวกับการเตรียมการคลอดและการเป็นมารดา
การประเมินเกี่ยวกับการยอมรับบทบาทการเป็นมารดา
ประเมินภาวะสุขภาพ จากการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินความรู้พื้นฐาน ด้านความรู้และทัศนคติ
การประเมินระดับสนับสนุนทางสังคมของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก (elderly pregnancy)
ความหมาย หญิงที่มีการตั้งครรภ์ที่มีอายุครบ 35 ปี ก่อนถึงวันกําหนดคลอด
ปัจจัยที่ทําให้เกิดการตั้งครรภ์ในหญิงอายุมาก
ปัจจัยด้านสังคมประชากร
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านการแพทย์
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
การแท้งบุตร
การตั้งครรภ์แฝด
การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกําหนด
ปัญหาการคลอดยาก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความเสี่ยงต่อความผิดปกติด้านโครโมโซม
ความพิการแต่กําเนิด
ทารกมีน้ําหนักตัวน้อย
Macrosomia
อัตราตายปริกําเนิดพบว่าเพิ่มสูงขึ้นในมารดาที่มีอายุมากกว่า
การพยาบาล
การประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพ จากการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินความรู้พื้นฐาน
การประเมินระบบสนับสนุนทางสังคม
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ปัจจัยที่ทําให้เกิดการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ปัจจัยด้านสังคมประชากร
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ปัจจัยด้านจิตสังคม
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการคุมกําเนิด
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์
การติดเชื้อ การตกเลือด ในกรณีที่ตัดสินใจทําแท้ง
มารดารู้สึกเครียด วิตกกังวล ท้อแท้ รู้สึกผิด
ผลกระทบต่อบุตร
การเสียชีวิตจากการทําแท้ง
มีปัญหาสัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร
บุตรถูกทอดทิ้ง
ผลกระทบต่อครอบครัว
ผลกระทบต่อสังคม
การพยาบาล
การประเมินทางการพยาบาล โดยการประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
การประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินความรู้พื้นฐาน
การประเมินการสนับสนุน
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
ผลกระทบของความรุนแรงในครอบครัว
ผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์เกิดการบาดเจ็บจากการกระทําความรุนแรง
ผลกระทบทางด้านจิตใจและอารมณ์
ผลกระทบทางด้านพฤติกรรม สตรีที่ถูกทําร้ายจะมีปัญหาเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
ผลกระทบทางด้านสังคม
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
การพยาบาล
การประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินความรู้พื้นฐาน
การประเมินการสนับสนุนทางสังคม
มารดาที่ติดสารเสพติด
บุหรี่
ส่งผลให้มีการขัดขวางการพัฒนาของเซลล์ประสาทของทารก
ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก
ปัญหาที่เกิดขึ้นหลังคลอด
เชาวน์ปัญญาบกพร่อง
สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว
มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
แอลกอฮอล์
ลักษณะทารก
ช่องตาสั้น
ร่องริมฝีปากบน (Phil rum) เรียบ
หนังคลุมหัวตามาก (epicanthal folds)
ริมฝีปากบนยาวและบาง
จมูกแบน
ปลายจมูกเชิดขึ้น
บริเวณส่วนกลางใบหน้ามีการพัฒนาน้อยกว่าปกติ
ปัญหาที่เกิดขึ้นหลังคลอด
เชาวน์ปัญญาบกพร่อง
สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว
มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
แอมเฟตามีนและอนุพันธ์
มีความผิดปกติของหัวใจแต่กําเนิด
ภาวะเลือดออกในสมองในทารก
ภาวะสมองตายในทารก
มีการทําลายเซลล์ประสาทของทารก
การปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์
หมั่นไปพบสูติแพทย์เพื่อติดตามผลของพัฒนาการทารกในครรภ์ตามนัดอย่างสม่ําเสมอ
ปฏิบัติตามคําแนะนําของสูติแพทย์อย่างเคร่งครัด
งด ละ เลิก สิ่งเสพติดทุกชนิดอย่างเด็ดขาด
หากคนในครอบครัวสูบบุหรี่ ควรพูดจาขอความร่วมมือให้ไปสูบบุหรี่ภายนอกบ้านเนื่องจากส่งผลต่อมารดาและทารกในครรภ์
การปฏิบัติตัวหลังคลอด
ควรพาทารกไปพบกุมารแพทย์เพื่อเฝ้าระวัง คัดกรอง ประเมินพัฒนาการและพฤติกรรมเป็นระยะ
นางสาวณัฏฐ์พิชญา โสภา 602701026