Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
ท้องผูก
ภาวะท้องผูก (Constipation) หมายถึง การไม่ถ่ายอุจจาระต่อเนื่อง 3 วันขึ้นไป หรือถ่ายอุจจาระแห้ง แข็ง ต้องออกแรงเบ่ง (American Gastroenterological Association, 2008) โดยพบว่ามีความสัมพันธ์กับการบีบตัวของลาไส้ลดลงในผู้สูงอายุ ทาให้รู้สึกไม่สบาย แน่นอึดอัดบริเวณทวารหนัก แต่ไม่สามารถถ่ายอุจจาระได้
สาเหตุ
พฤติกรรมและแบบแผนการดาเนินชีวิตประจาวัน
*
•นิสัยการกลั้นอุจจาระเป็นประจา
•รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อยเกินไป
•ขาดการออกกาลังกาย
•ภาวะเครียด
ยาบางชนิด
*
•ยากลุ่ม Opiates
•ยาต้านการซึมเศร้า
•ยากันชัก
•ยาลดกรดที่มีเกลืออลูมิเนียม
โรคประจาตัว
*
•โรคทางระบบประสาท
•โรคของลาไส้และทวารหนัก
•การเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
อาการและอาการแสดง
*
อุจจาระอัดแน่น (Fecal impaction)
•อึดอัด แน่นท้อง ท้องอืด
•มีไข้ อาเจียน
•สับสน
กลั้นอุจจาระไม่ได้ เกิดแผลเนื้อตาย
รับประทานอาหารได้น้อยลง
พร่องโภชนาการ
มีภาวะซีด
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากภาวะท้องผูก
ลาไส้บวมและโป่งพอง (Acquired megacolon or megarectum)
ปวดท้องเรื้อรัง
Sigmoid volvulus
Stercoral ulceration
การดูแล
*
ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญ และปัจจัยที่ทาให้เกิดปัญหาการขับถ่าย กระตุ้นให้ดื่มน้าอย่างเพียงพอและสม่าเสมอ (> 2,000 ml/day)
แนะนาให้รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
แนะนาการบดเคี้ยวอาหารอย่างละเอียด
จัดสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตร มีความเป็นส่วนตัว ให้เวลาในการขับถ่าย
แนะนาให้หลีกเลี่ยงการกลั้นอุจจาระ
ควรฝึกการขับถ่ายให้เป็นนิสัย
กรณีนอนติดเตียง ควรจัดท่านั่งศีรษะสูงในการขับถ่ายอุจจาระ
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวหรือออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ กรณีที่อุจจาระอัดแน่นให้ทาการล้วง (Evacuation) ด้วยความนุ่มนวล
หากต้องใช้ยาระบาย ควรปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัด
ท้องเสีย
อาการ
ปวดท้อง
มีลมในท้องร่วมกับท้องเดิน ท้องผูก หรือท้องเดินสลับท้องผูก
ปวดบิดเกร็งเป็นพักๆ
ถ่ายเป็นน้ำหรือถ่ายเหลวบ่อย
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติเกี่ยวกับการทํางานของลําไส้ใหญ่
โดยหาความผิดปกติทางร่างกายไม่พบ
โรคนี้สัมพันธ์กับอารมณ์และจิตใจของผู้ป่วย เช่น เครียด คิดมาก กังวลใจ
ทําให้ลําไส้ใหญ่เคลื่อนไหวผิดปกติ
ทําให้ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องผูก
เกิดภาวะขาดน้ำหรือมีอาการท้องเสียมากกว่า 2 วัน สำหรับเด็กเล็กหรือทารกหากมีอาการเกิน 1 วัน ควรรีบพาไปพบแพทย์ เนื่องจากเสี่ยงกับการเสียชีวิตจากภาวะขาดน้ำ
ภาวะเเทรกซ้อน
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง นอกจากทำให้เกิดความวิตกกังวล กลัวเป็นโรคมะเร็งหรือโรคร้ายแรง
ท้องเสีย เป็นอาการถ่ายอุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำมากกว่าปกติ หรือในบางครั้งถ่ายเป็นมูกปนเลือด มักเกิดจากการติดเชื้อหรือภาวะอาหารเป็นพิษ หลังจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป โดยอาการจะเกิดขึ้นในระยะเวลาเพียงไม่กี่วัน แต่ในบางรายอาจอาการเรื้อรังเป็นเวลานาน ซึ่งอาจเกิดจากโรคอื่น ๆ ได้ เช่น โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง
การรักษา
แนะนําให้ผู้ป่วยออกกําลังเป็นประจํา ฝึกสมาธิ หรือหาทางผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่างๆ หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดหรืออาหารที่กระตุ้นอาการ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ชา หรือกาแฟ
ดื่มผงน้ำตาลเกลือแร่โออาร์เอส (ORS) เพื่อชดเชยน้ำและเกลือแร่ที่ร่างกายสูญเสียไป นอกจากนี้ การรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการท้องเสียตามที่แพทย์หรือเภสัชกรแนะนำอย่างยา Diosmectite ควบคู่ไปกับการดื่มน้ำและผงเกลือแร่ซึ่งเป็นการรักษาหลักก็อาจช่วยบรรเทาอาการให้ดีขึ้นได้
ถ้ามีอาการท้องผูก ให้ยาระบาย
ควรระมัดระวังเรื่องความสะอาดของอาหารเป็นหลัก
การดูแล
*
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังรับประทานอาหารหรือสัมผัสกับอาหาร หลังการเข้าห้องน้ำ หรือจับสิ่งสกปรกอื่น ๆ เพื่อป้องกันแพร่กระจายของเชื้อโรค
ในกรณีที่ไม่สามารถล้างมือได้ ควรใช้เจลล้างมือที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ เพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เลือกรับประทานอาหารอย่างระมัดระวัง เช่น รับประทานของร้อน อาหารที่สะอาด สดใหม่ หลีกเลี่ยงผักผลไม้สดที่ล้างไม่สะอาด เนื้อสัตว์ดิบ และผลิตภัณฑ์ประเภทนม เป็นต้น
ไม่ควรวางอาหารทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องนาน ๆ ควรเก็บเข้าตู้เย็น เพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
ควรทำความสะอาดบริเวณที่มีการเตรียมอาหารให้ถูกสุขลักษณะ รวมถึงการล้างมือให้สะอาด ขณะเตรียมอาหาร
เลือกดื่มน้ำที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ