Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ - Coggle Diagram
ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์
ที่มาของแนวคิดทฤษฎี
ปีคริสต์ศักราช1990
ได้เริ่มให้ความสำคัญในเรื่องของความผิด
ปกติของสมอง
เพิ่มเนื้อหาการศึกษาเรื่องโครงสร้างของระบบประสาท
พัฒนาการให้การพยาบาลในด้านนี้มากขึ้น
ทฤษฎี
ความเจ็บป่วยนั้นจะมีลักษณะของโรคและมีอาการแสดงที่สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลใน การวินิจฉัยและจำแนกโรคได้
สาเหตุของการเจ็บป่วยนั้นเชื่อว่ามาจากการทำงานของสมอง
Limbic system
Synapse system
ในระบบประสาท
ส่วนกลาง
สารสื่อประสาท (Neurotransmitters)
การเปลี่ยนแปลงของจังหวะ
การทำงานของชีวภาพของร่างกาย
ปัจจัยทางพันธุกรรม (Genetic factors)
โรคทางจิตเวชสามารถรักษาได้โดยการรักษาแบบฝ่ายกาย
บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านอารมณ์และจิตใจ
แนวความคิดที่ว่าโรคทางจิตมีสาเหตุมาจากปัจจัยทางชีวภาพ
ช่วยลดความรู้สึกเป็นตราบาป (Stigma)ของผู้ป่วยและครอบครัว
สารสื่อประสาทกับโรคทางจิตเวช
norepinephrine
เกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า โรคไบโพล่าร์ โรคแพนิค
GABA; gammabutyric acid
เกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวลและแอลกอฮอล์
Endorphin (Endogenous morphine)
เป็นยาชาในร่างกายตามธรรมชาติ ทำให้รู้สึกเจ็บ น้อยลง
เป็นสารเคมีที่ทำให้เกิดความสุข
เป็นสารเคมีที่ทำให้เรารู้สึก ผ่อนคลายหายเจ็บปวด
Acetylcholine
ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ทำให้ข้อมูลส่งผ่านได้ดีขึ้น
ช่วยให้สมองเก็บความรู้ที่
เราเรียนในเวลากลางวัน
เป็นสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับความฝัน
เป็นสารเคมีที่มีหน้าที่เกี่ยวกับความจำ
เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ส
Serotonin
ทำให้อารมณ์ดี ทำหน้าที่ส่งข้อมูลในสมอง
ถ้าขาดจะทำให้คนซึม
เศร้า มองคุณค่าตัวเองต่ำ
เกี่ยวข้องกับ โรคซึมเศร้า โรคไบโพล่าร์ โรคย้ำคิด
ย้ำทำ โรคแพนิค โรคปวดศีรษะ
Dopamine
ควบคุมการเคลื่อนไหว
ต่ำ
มีผลต่อความจำที่ใช้
กับการทำงาน
สูง
เกิดโรคจิต
ประสาทหลอน
เกี่ยวข้องกับโรคจิตเภท โรคจิตชนิดอื่นๆและยาเสพติด
สมอง
เมดัลลา ออบลองกาตา
ควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ
การเต้นของหัวใจ
การไอและจาม
การหายใจ
ทาลามัส
ศูนย์รวบรวมกระแสประสาท
ซีรีเบลลัม
ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
ควบคุมการทรงตัว
ไฮโปทาลามัส
ศูนย์ควบคุมความหิว อิ่ม กระหายน้ำ อุณหภูมิของร่างกาย อารมณ์
ซีรีบัม
ควบคุมความคิด
ควบคุมความจำ
ควบคุมสติปัญญา
พอนด์
ควบคุมการหลั่งน้ำลาย
ควบคุมการเคี้ยว
ควบคุมการเคลื่อนไหวใบหน้า
สมองส่วนหน้า
ควบคุมการมองเห็น