Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในร…
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
:
การซักประวัติ
เพื่อยืนยันการตั้งครรภ์ เพื่อการวินิจฉัย และวางแผนการดูแลได้อย่างถูกต้อง
ประวัติส่วนตัว
อายุ สภาพสมรส ้ชื้อชาติ น้ำหนัก เจตคติ ความเชื่อ สารเสพติด
การศึกษา ฐานะ อาชีพ
ประวัติครอบครัว
โรคทางพันธุกรรม
การตั้งครรภ์แฝดในครอบครัว
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
ประวัติการมีประจำเดือน
วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
ประวัติการแท้ง
การบันทึกผลการซักประวัติ
ระบบ GPPAL
G (Gravida) คือจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
P (Para) คือจำนวนครั้งของการคลอด
P (Premature labour) คือ จำนวนครั้งของการคบอดก่อนกำหนด
A (Abortion) คือจำนวนครั้งของการแท้ง
L (Living) คือจำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่
ประวัติการคุมกำเนิด
วิธีการคุม
ระยะเวลาที่คุมกำเนิด
ระยะเวลาที่หยุดคุมกำเนิดครั้งสุดท้ายก่อนการตั้งครรภ์
ประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์
วันแรกที่มารดารู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
อุบัติเหตุหรือโรคเกี่ยวกับกระดูกเชิงกราน
ประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ
ประวัติความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
เลือดออกทางช่องคลอด
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน จุกเสียด อาการบวม
ท้องผูก
การถ่ายปัสสาวะ
ตกขาว
ตะคริว
เส้นเลือดขอด
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจเต้านมและหัวนม
Waller's Test
เลียนลักษณะการดูดตามธรรมชาติของเด็ก
เต้านม
คลำดูขนาดของต่อมน้ำนมเพื่อหาก้อนผิดปกติ
Hoffman's Maneuver
การแก้ไขความผิดปกติ เช่นหัวนมสั้น บอด
หัวนม
ไม่แตกหรือเป็นรอยแยก ไม่แบนหรือบุ๋มลงไป
การตรวจครรภ์
คาดคะเนอายุครรภ์
จำนวนทารกในครรภ์
แนว ท่า และส่วนนำของทารก
Lie
แนวยาว (Longitudinal lie)
แนวยาวทารกขนานกับมารดา
แนวขวาง (Transverse lie)
แนวยาวทารกขวางกับมารดา
แนวเฉียง (Oblique lie)
แนวยาวทารกเฉียงมารดา
Presentation
Cephalic presentation แนวยาว
แบ่งออกตามทรงของทารก
Vertex Presentation
Bregma Presentation
Brow Presentation
Face Presentation
Breech Presentation แนวยาว
Complete Breech
Incomplete Breech
Shoulder Presentation แนวขวาง
Attitude ทรง
Flexion
ทารกก้มคางชิดอก
Slight degree of deflexion
ศีรษะตั้งตรง
Moderate degree of deflaxion
ศีรษะเงย หน้าอกแอ่น
Marked degree of deflexion
แหงานหน้าจนท้ายทอยชิดหลัง หน้าอกแอ่นเต็มที่
คำย่อ
HF = Head Float ส่วนนำยังไม่ลงอุ้งเชิงกราน
HE = Head Engagement ส่วนนำลงอุ้งเชิงกรานแล้ว
SP = Symphysis Pubis กระดูกเชิงกราน
การคงชีวิตอยู่ของทารกในครรภ์
วิธีการตรวจครรภ์
การดู
ขนาดท้อง ลักษณะ สีผิว รูปร่าง การเคลื่อนไหว แผล ท้องน้อย
การคลำ
HF,Position,Presentation
การฟัง
FSH,Umbilical souffle, Uterine souffle, Fetal shocking sound.
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC,VDRL
ตรวจเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
HIV
ตรวจหลังรับคำปรึกษา ตรวจเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
OF,DCIP
กลุ่มเลือด ABO,RH
HBsAg เมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก
UA หา Albumin,Sugar
การตรวจพิเศษ
การประเมินภาวะภาวะจิตสังคม
การคาดคะเนอายุครรภ์และวันคลอด
การประเมินคัดกรองภาวะเสี่ยงและการส่งต่อ
การนัดตรวจติดตาม การดำเนินการตั้งครรภ์
การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์
ประเมินความต้องการ
ไตรมาสที่1
การพักผ่อน
การออกำลังกาย
การทำงาน
การเดินทาง
การดูแลช่องปากและฟัน
การรับประทานอาหารและยา
เพศสัมพันธ์
การทรงตัว
การบริหารร่างกาย
อาการผิดปกติ
การมาตรวจตามนัด
การฉีดวัคซีน
ไตรมาสที่ 2
การดูแลผิวหนัง
การดูแลเต้า
การแต่งกาย
ไตรมาสที่ 3
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
การเตรียมตัวให้นมบุตร
อการเจ็บครรภ์คลอด
การเตรียมของใช้สำหรับมารดา/บุตร
การดูแลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์
คลื่นไส้ อาเจียน
รับประทานอาหารแข็งย่อยง่าย
ทานน้อยแต่บ่อยครั้ง
ดื่มน้ำอุ่น วันละ 6-8 แก้ว
มีน้ำลาย
ลดแป้ง อมลูกอม
เหงือกอักเสบ
ใช้แปรงที่มีขนนุ่ม
เพอ่มอาหารโปรตีน ผัก ผลไม้
ปรึกษาทันตแพทย์
ร้อนในอก
ทานอาหารน้อยแต่เพิ่มจำนวนมื้อ
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
ท้องผูก
ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
รับประทานอาหารที่มีกาก
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ฝึกนิสัยการขับถ่ายให้เป็นเวลา
ริดสีดวงทวาร
รับประทานอาหารที่มีกาก
ดื่มน้ำอย่างน้อย 8 แก้ว
ใจสั่น เป็นลม
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
ให้นอนเราตะแคงซ้ายหรือกึ่งนั่งกึ่งนอน
ตรวจความเข้มข้นของเลือด
เส้นเลือดขอด
ไม่ควรยืน หรือเดินเป็นเวลานาน
แนะนำให้นอนตะคงซ้าย ยกเท้าสูง หรือยกขาขึ้นเวลานั่ง
ระมัดระวังอย่าให้เกิดการบาดเจ็บตรงบริเวณที่มีเส้นเลือดพองขอด
หายใจตื้นและลำบาก
นอนท่าศีรษะสูง
ปรึกษาเพื่อหาสาเหตุ
ตะคริว
ทานนม
หลีกเลี่ยงการใช้กำลังที่ขา
นวดขา ดัดปลายเท้าขึ้น
ปรึกษาแพทย์ เพื่อรับแคลเซียม
ปวดหลัง ปวดถ่วงและปวดที่บริเวณข้อต่อต่างๆ
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
นั่งพับเข่า ยืน เดิน นั่งในท่าที่เหมาะสม
บริหารกล้ามเนื้อ ทำท่า Pelvic tilting
นวดหลัง
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย
ปัสสาสะบ่อย
ดื่มน้ำกลางวันมากๆ ดื่นก่อนนอนน้อยๆ
อย่ากลั้นปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
คัน
ไม่ควรเกา ทาครีมบำรุง
หลีกเลี่ยงการใช้สารที่ทำให้ผิวแห้ง
บวม
หลีกเลี่ยงการยืน เดินนานๆ
ขณะพักให้ยกเท้าสูงเล็กน้อย
ปรึกษาแพทย์