Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บำบัดหัตถการ - Coggle Diagram
บำบัดหัตถการ
CPR
-
-
หมายถึง
การปฏิบัติการเพื่อช่วย ฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือดที่หยุดทำงานอย่างกระทันหันเพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเอง ได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง
ข้อควรระวังในการทำCPR
-
หลังการกดแต่ละครั้งต้องปล่อยให้อกคืนตัวจนสุด เพื่อให้หัวใจรับเเลือดสำหรับสูบฉีดครั้งต่อไป หากไม่ปล่อยให้หน้าอกคืนตัวจนสุด จะทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง
-
กดหน้าอกให้ต่อเนื่องให้ได้มากที่สุด โดยสามารถหยุดการกดหน้าอกได้ไม่เกิน 10 วินาที ในกรณีคลำหาชีพจร มีการช็อตไฟฟ้าหัวใจ ต้องการหยุดเพี่ยใส่อุปกรณ์เปิดทางเดินหายใจขั้นสูง (ในกรณีที่ไม่ใส่ในขณะกดหน้าอกไม่ได้)
-
ไม่ควรใช้วิธีหายใจมากเกินไป การเปิดทางเดินหายใจไม่เต็มที่ เป่าลมมากเกินไป ทำให้ลมข้ากระเพาะอาหาร เกิดท้องอืด อาเจียน ลมเข้าปอดไม่สะดวก ปอดขยายตัวไม่เต็มที่
ถ้ามีอาการอาเจียนเกิดขึ้นก่อน หรือ ระหว่างการทำ CPR ต้องล้วงเอาเศษอาหารออกก่อน มิฉะนั้นจะเป็นสาเหตุของการอุดตันของทางเดินหายใจ (airway obstruction) กรช่วยหายใจไม่ได้ผล เกิดการขาดออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินABCDE
A (Airway)
ประเมินทางเดินหายใจโล่งหรือไม่ มีข้อบ่งชี้ในการใส่ท่อหายใจหรือไม่ ท่อหายใจอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ ตรวจสอบท่อหายใจได้รับการผูกหรือยึดตรึงและอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมบ่อยๆ
C (Circulation)
การทำงานหน้าอกมีประสิทธิภาพหรือไม่ จังหวะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นอย่างไร เปิดหลอดเลือดดำแล้วหรือไม่ มีข้อบ่งชี้ในการช็อตไฟฟ้าหรือไม่มี RDSC แล้วหรือไม่ ถ้าผู้ป่วยมีชีพจรแล้ว unstable หรือไม่ วิธีการใช้ยาเพื่อควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจหรือความดันโลหิตหรือไม่ ผู้ป่วยต้องการสารน้ำมากน้อยเพียงใด
-
B (Breating)
การช่วยการหายใจและการให้ออกซิเจนเพียงพอหรือไม่ มีการประเมินค่า spo2 & Quantitative waveform coronagraph อย่างต่อเนื่องหรือไม่
E (Exposure)
มีการตรวจสอบรอยโรคหรือการบาดเจ็บที่เห็นได้ทั่วร่างกายอย่างไร การตรวจประเมินระดับทุติยภูมิ (secondary assessment)
-
-
การช่วยเหลือผู้ป่วยที่จมน้ำ
-
-
-
-
การปฐมพยาบาล
-
-
-
-
-
6 กรณีไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง : ช่วยหายใจ โดยเปิดทางเดิน หายใจ โดยการกดหน้าผาก เชยคาง และเป่าปากโดยวางปาก ครอบปากผู้ป่วย บีบจมูก เป่าลมเข้า ให้หน้าอกผู้ป่วยยกขึ้น (เป่าปาก 2 ครั้ง)
7 กดนวดหัวใจ วางส้นมือกึ่งกลางหัวนมทั ง 2 ข้าง ต่อมากดหน้าอกให้ยุบไปประมาณ 1ใน3 ของความหนาของหน้าอกความเร็ว 100 ครั้ง/ นาที นวดหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง ทำไปจนจะรู้สึกตัว และหายใจได้เอง
8 จับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง ศีรษะหงายไปข้างหลัง เพื่อให้น้ำไหลออกทางปาก ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น งดน้ำและอาหาร และน้ำส่งโรงพยาบาลทุกราย