Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 4.2 การพยาบาลหญิงตังครรภ์ทีมีภาวะตกเลือดหลังคลอด Antepartum…
บทที่ 4
4.2 การพยาบาลหญิงตังครรภ์ทีมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
Antepartum Hemorrhage
การแท้ง (abortion)
การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (inevitable abortion)
การแท้งค้าง (missed abortion)
การแท้งคุกคาม (threatened abortion)
การแท้งเป็นอาจิณ หรือ การแท้งซ้ำ (habitual หรือ recurrent abortion)
การแท้งติดเชื้อ (septic abortion)
การแท้งไม่ครบหรือการแท้งไม่สมบูรณ์ (incomplete abortion)
การแท้งครบหรือการแท้งสมบูรณ์ (complete abortion)
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
การเฝ้าสังเกตอาการ (expectant)
อาการและอาการแสดง
เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด (irregular vaginal bleeding)
ขาดประจำเดือน (amenorrhea)
ปวดท้องน้อย อาการปวดท้องน้อยเฉียบพลัน อาจเริ่มด้วยปวดแบบตื้อๆ
ปวดร้าวที่หัวไหล่ (shoulder tip pain)
วิงเวียนศีรษะ (dizziness) เป็นลมหรือหมดสติ (syncope) เนื่องจากมีเลือดออกมาก
อาการของการตั้งครรภ์ เช่น คัดตึงเต้านม คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายปัสสาวะบ่อย
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้าบางส่วน (partial หรือ incomplete hydatidiform mole)
อาการและอาการแสดง
ถุงน้ารังไข่ (theca lutein ovarian cyst)
ครรภ์เป็นพิษ
อาการแพ้ท้องรุนแรง
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
Trophoblastic embolization
เม็ดโมลหลุดออกมาทางช่องคลอด
U/C พบลักษณะเหมือนกลุ่มของหิมะ หรือปุยเมฆ (snow stom pattern) กระจายอยู่ทั่วไปในโพรงมดลูก
เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
คอพอกเป็นพิษ
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้าทั้งหมด (complete hydatidiform mole)
เป็น 46,XY
เป็นdiploid mole จะมีโครโมโซมเป็น 46,XX
แนวทางการรักษา
ทาให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
ติดตามระดับฮอร์โมน hCG
ระเมินสภาพร่างกายทั่วไปไว้เป็นเกณฑ์ (baseline physical examination) และนัดตรวจเป็นระยะจนครบ 1 ปี
ถ่ายภาพรังสีปอดเป็นระยะ ควรนัดตรวจทุกเดือนถ้ายังตรวจพบฮอร์โมน hCG และตรวจทุก 2 เดือนจนไม่พบ hCG หลังจากนั้นควรตรวจปีละครั้ง
ประเมินระดับฮอร์โมน serum bête-hCG ทุก1-2 สัปดาห์
ตรวจประเมินอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ์ภายในเป็นระยะ
ให้คุมกาเนิดอย่างเคร่งครัดอย่างน้อย 1 ปี
กรณีที่เกิดมะเร็งเนื้อรก (chroriocacinoma) พิจารณาให้การรักษาด้วยยาเคมีบาบัด
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
Concealed คือ รกลอกตัวแล้วเลือดคั่งอยู่
หลังรกไม่ ออกมาทางช่องคลอด
Mixed ชนิดนี้พบได้มากที่สุด
Revealed คือ รกลอกตัวแล้วเลือดไหลออก
มาทางปาก มดลูกและช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
พบเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการปวดท้องร่วมด้วย
ภาวะรกเกาะตํ่า
(Placenta Previa)
Partial placenta previa รกเกาะตํ่าชนิดที่ขอบ
รก เกาะที่ขอบรกคลุมปิด internal os เพียงบางส่วน
Total placenta previa รกเกาะตํ่าที่ขอบรกคลุม
ปิด internal os ทั้งหมด
Marginal placenta previa รกเกาะตํ่าชนิดที่
ขอบ รกเกาะที่ขอบขอบ internal os พอดี
การรักษาเบื้องต้น
รับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ห้ามตรวจทางช่องคลอดหรือทางทวาร
ให้สารนํ้าทางเส้นเลือดแทน
งดนํ้าและอาหารทางปาก
การสังเกตอาการตกเลือด
ตรวจความเข้มข้นของเลือด เตรียมให้เลือด
Low – lying placenta รกที่ฝังตัวบริเวณ lower
uterine segment
ภาวะมดลูกแตก
(Uterine Rupture)
Complete rupture รอยแตกทะลุชั้น peritoneum (Serosa) ชนิดนี้ เด็กมักจะหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
Incomplete rupture รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum คือ มีแต่การฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น ส่วน peritoneum ยังคงปกติดีอยู่ แต่ส่วนมากแล้วเด็กมักหลุดเข้าไปใน Broad ligaments
ชนิดของภาวะมดลูกแตก
การแตกของมดลูกปกติเนื่องจากได้รับอันตรายบาดเจ็บ
การแตกขึ้นเองของมดลูก
การแตกของแผลเป็นเก่าที่ตัวมดลูก
ภาวะการแตกของ Vasa Previ
การรักษา
ต้องนึกถึงภาวะนี้ไว้เสมอในรายรกเกาะต่า ครรภ์แฝดและทุกครั้งที่ทาการเจาะถุงน้าคร่า (Amniotomy)
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้าคร่าแตก ให้ผ่าท้องทาคลอด
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้าคร่าแตกแล้วต้องทาให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงทันทีโดย
ผ่าท้องทาคลอด
ถ้าเด็กตายแล้วปล่อยให้คลอดเอง
ถ้าทาได้ไม่ยากอาจช่วยคลอดด้วยคีม
อาการและอาการแสดง
หลังถุงน้าคร่าแตกแล้ว
มีเลือดออกทางช่องคลอด
พบมีภาวะเครียด เนื่องจากการเสียเลือดและขาดออกซิเจน
ก่อนถึงน้าคร่าแตก
การส่งตรวจถุงน้าคร่า (Amnioscopy) เห็นเส้นเลือดทอดบนเยื่อถุงน้าคร่าชัดเจน
เสียงหัวใจของทารกเปลี่ยนแปลง ถ้าหากเส้นเลือดถูกกดโดยส่วนนาของทารก หรือจากการคลาระหว่างตรวจภายใน
การตรวจภายในเห็นหรือคลาพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ (Synchronous) กับเสียงหัวใจทารก
ณัฏฐ์พิชญา โสภา 602701026