Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการตั้งครรภ์, cat_cage, pokemon…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ภาวะปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ
Polyhydramnios
ความหมาย
ภาวะตั้งครรภ์ที่มีจำนวนน้ำคร่ำมากผิดปกติ AFI เกิน 24-25 ซม ถ้าวัดปริมาตรได้โดยตรงจะถือที่มากกว่า 2,000 มล.
การวินิจฉัย
ประวัติ
การโตเร็วของมดลูก
ปัจจัยเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์แฝด
การตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกใหญ่กว่าอายุครรภ์
คลำส่วนของทารกในครรภ์ได้ยาก
ฟังเสียงหัวใจทารกได้ ยาก
อัลตราซาวด์
การวัดแอ่งที่ใหญ่ที่สุด (SDP) และ AFI
การรักษา
การดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
การรักษาด้วยยา
Indomethacin
Sulindac
แนวทางการดูแลรักษา
ระยะก่อนคลอด
ตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ระวังภาวะน้ำคร่ำแตกรั่ว
หลังคลอด
ระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์เนื่องจากมีภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำน้อย Oligohydramnios
ความหมาย
มีน้ำคร่ำประมาณ 100-300 มล. หรือ AFI ≤ 5 เซนติเมตร
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีน้ำเดินทางช่องคลอด
มดลูกไม่ค่อยโตขึ้น
ความสูงของมดลูกน้อยกว่า อายุครรภ์
การตรวจทางหน้าท้อง
คลำได้ส่วนของทารกได้ง่าย
ไม่สามารถทำ ballottement ของ ศีรษะทารกในครรภ์ได้
คลื่นเสียงความถี่สูง
วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำแบ่งเป็น
รุนแรงน้อย คือวัดได้ 1-2 ซม.
รุนแรงมาก วัดได้ น้อยกว่า 1 ซม. 2
วัดดัชนีน้ำคร่ำ
ก้ำกึ่งหรือน้อยกว่าปกติ คือวัดได้ 5-8 ซม.
น้ำคร่ำน้อยวัดได้น้อยกว่า 5 ซม.
การรักษา
รายที่สัมพันธ์กับความพิการรุนแรงมักจะแนะนำให้เลือกยุติการตั้งครรภ์
รายที่ มีภาวะทารกโตช้าในครรภ์ที่เกิดจาก UPI มักจะเน้นการตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
กรณีอายุครรภ์น้อย
พิจารณาให้ทางเลือกในการยุติการ ตั้งครรภ์
ให้การรักษาเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำคร่ำ
กรณีอายุครรภ์ในไตรมาสที่สาม
เฝ้าตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ตรวจวัดดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ 1-2 สัปดาห์/ครั้ง
biophysical profile 1-2 สัปดาห์/ครั้ง
ภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
Amniotic Fluid Embolism
ลักษณะเฉพาะ 3 ประการ
hypotension
hypoxia
consumptive coagulopathy
อาการและอาการแสดง
ถุงน้ำคร่ำต้องแตกแล้วและมีทางติดต่อกัน ของน้ำคร่ำกับเส้นเลือดมารดา
แบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะแรกภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
ระยะที่สองภาวะเลือดไม่แข็งตัว
การวินิจฉัย
CBCจะพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
Hb และ Hct ลดลง
PT,PTT เพิ่มขึ้น
fibrinogen จะลดลง
ABG พบภาวะ hypoxemia
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การจำแนก
ใช้อัตราส่วนระหว่างศีรษะและท้องของเด็ก
Symmetrical IUGR
เจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
Asymmetrical IUGR
เล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะ
สาเหตุ
สาเหตุจากมารดา
สาเหตุจากทารก
สาเหตุจากรกและสายสะดือ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
Ultrasound
การตรวจหา Fetal structural anomalies
แนวทางการดูแลรักษา
คัดกรองหาปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะโตช้าในครรภ์
ตรวจวัด fundal heightทุกครั้งที่มาทำการฝากครรภ์
ตรวจ ultrasound
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่ มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็มหรือมากกว่า
ลักษณะทารกที่คลอดจากครรภ์เกินกำหนด
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก
ขี้เทาเคลือบติดตามตัว
รูปร่างผอม
ตื่นตัว (alert)
หน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป
เล็บยาว
การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ด้านร่างกาย
ANC ล่าช้า
Anemia
Abortion
Preterm labor
ด้านจิตใจ
วิตกกังวล
รู้สึกอับอาย
ด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม
อุปสรรคต่อการเรียน
มีรายได้น้อย ไม่สามารถหารายได้ได้ด้วยตนเอง
ผลกระทบต่อบุตร
น้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อนกำหนด
พันธกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การยอมรับการตั้งครรภ์
การสร้างสัมพันธภาพกับทารกในครรภ์
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในตนเอง
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสัมพันธภาพกับคู่สมรส
การเตรียมการคลอดและการเป็นมารดา
การยอมรับบทบาทการเป็นมารดา
การพยาบาลมารดาวัยรุ่น
ประเมินพันธกิจของการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
ประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินความรู้พื้นฐาน ด้านความรู้และทัศนคติ
ประเมินระดับสนับสนุนทางสังคมของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก
การพยาบาล
ประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
ประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินระบบสนับสนุนทางสังคม
คัดกรองดาวน์ซินโดรม
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
การติดเชื้อ
การตกเลือด
ด้านจิตสังคม
มารดารู้สึกเครียด วิตกกังวล ท้อแท้ รู้สึกผิด
บุตร
มีปัญหาสัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร
บุตรถูก ทอดทิ้ง
ครอบครัว
เครียด
มีภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูบุตรเพิ่มขึ้น
สังคม
เกิดปัญหาการทอดทิ้งบุตร
สูญเสียงบประมาณในการเลี้ยงดูเด็กที่ถูก ทอดทิ้งเป็นจำนวนมาก
การพยาบาล
ประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
ประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินความรู้พื้นฐาน
ประเมินการสนับสนุน
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
ความหมาย
การที่สามีกระทำการใดๆ ที่ทำให้สตรีตั้งครรภ์ ได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายต่อร่างกาย ทางเพศและจิตใจ รวมถึงการคุกคาม บังคับ หรือทำให้สูญเสียอิสรภาพ ทั้งในที่สาธารณะและในชีวิตส่วนตัว
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์ เกิดการบาดเจ็บจากการกระทำความรุนแรง
เศร้า เครียด วิตกกังวล ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง
มีปัญหาเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม เช่น สูบบุหรี่ ใช้ สารเสพติด
มีปัญหาเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส มีการแยกตัวจากสังคม
เกิดการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
มารดาที่ติดสารเสพติด
บุหรี่
ส่งผลให้มีการขัดขวางการพัฒนาของเซลล์ประสาทของทารก
มีการหดตัวของหลอดเลือดดำมดลูก
แอลกอฮอล์
Fetal alcohol syndrome
แอมเฟตามีนและอนุพันธ์
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
มีความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะเลือดออกในสมอง
ภาวะสมองตาย
เส้นรอบศีรษะมีขนาดเล็ก
การปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์
หมั่นไปพบสูติแพทย์เพื่อติดตามผลของพัฒนาการทารกในครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
ปฏิบัติตามคำแนะนำของสูติแพทย์อย่างเคร่งครัด
งด ละ เลิก สิ่งเสพติดทุกชนิดอย่างเด็ดขาด
การปฏิบัติตัวหลังคลอด
ควรพาทารกไปพบกุมารแพทย์เพื่อเฝ้าระวัง คัดกรอง ประเมินพัฒนาการและพฤติกรรมเป็นระยะ
นางสาวชุติมณฑน์ อุดมศรี เลขที่ 21