Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อนโรคติดต่อเเละโรคอุบัติใหม่ (ต่อ),…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อนโรคติดต่อเเละโรคอุบัติใหม่ (ต่อ)
Hepatitis
ลักษณะอาการ
HAV
ติดต่อได้ทาง feacal – oral transmission (การกินอาหารหรือดื่มน้ำไม่สะอาด)
HBV
ติดต่อได้ทางเลือด หรือ serum เช่น การฉีดยา การถ่ายเลือด การสัมผัสกับ secretion หรือ สิ่งคัดหลั่งต่างๆ (น้ำมูก น้ำลาย) เพศสัมพันธ์ (อสุจิ)
NAnB
เชื้อที่เป็นสาเหตุไม่ทราบแน่ชัด อาการไม่รุนแรง
ติดต่อได้ทั้งการรับประทานอาหารทางเลือด และ serum
การเเปลผล
ไม่ติดเชื้อปัจจุบัน เคยติด มีภูมิ
HBsAG - Anti-HBc + Anti-Hbs +
ไม่ติดเชื้อปัจจุบัน ไม่เคยติด มีภูมิจากวัคซีน
HBsAG - Anti-HBc - Anti-Hbs +
ไม่ติดเชื้อเเละไม่มีภูมิ
HBsAG - Anti-HBc - Anti-Hbs -
เเปลผลไม่ชัดเจน อาจเพิ่งหาย
HBsAG - Anti-HBc + Anti-Hbs -
สาเหตุ
เกิดจากการเสียหน้าที่ของตับจากภาวะตับอักเสบ การบาดเจ็บที่ตับ ตับแข็ง ตับวาย และมะเร็งตับ
การพยาบาล
สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง
ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนเต็มที่
ดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิด
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน โดยจัดสิ่งแวดล้อมและอาหารที่ไม่กระตุ้น
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ทางหลอดเลือดตามแผนการรักษา
ติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด และสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ
พยาธิสภาพ
Prodomal Stage : 3 – 7 วัน ก่อนตาเหลือง อาการสำคัญคือเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตัว อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำๆ อาจมีปวดท้องใต้ชายโครงขวา หรือกดเจ็บ
Icteric Stage : ระยะตา ตัวเหลือง นาน 1 – 4 สัปดาห์ อาการต่างๆ ในระยะแรกจะหายไป แต่มีอาการตัว ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม อาจพบม้ามและต่อมน้ำเหลืองโต
Recovery Period : ระยะพักฟื้น ใช้เวลา 3 – 4 เดือน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น และหายเป็นปกติ
โรคไวรัสอีโบร่า (Ebola virus disease)
การวินิจฉัย
การตรวจหาอาร์เอ็นเอไวรัสโดยปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส(PCR)
การตรวจหาโปรตีนโดยวิธีอีไลซา (ELISA)
ภาวะแทรกซ้อน
หลายอวัยวะล้มเหลว
เลือดออกรุนแรง
ดีซ่าน
สับสน
ชัก
โคม่าหมดสติ
ช็อค
พยาธิวิทยา
เกิดการปล่อยไซโทไคน์ (กล่าวโดยเจาะจง คือ TNF-α, IL-6, IL-8 ฯลฯ) ทำให้ความแข็งแรงของหลอดเลือด (vascular integrity) เสียไป การเสียความแข็งแรงของหลอดเลือดนี้ยังส่งเสริมด้วยการสังเคราะห์ GP ซึ่งลดอินทีกริน (integrin) นำไปสู่ลิ่มเลือดผิดปกติ
การรักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
การแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
การป้องกัน
กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน (ให้ความร้อน 60 °C เป็นเวลา 30 ถึง 60 นาที หรือต้มเป็นเวลา 5 นาที
แยกผู้ป่วย และการสวมเสื้อผ้าป้องกัน ได้แก่ หน้ากาก ถุงมือ กาวน์และแว่นตา
ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อ
โรคไข้หวัดใหญ่ (Human influensa)
การแพร่กระจายเชื้อโรค
การกระจายสู่คนทางละอองฝอย
สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ที่ปนเปื้อน เช่นน้ำมูกและน้ำลายและเสมหะของผู้ป่วย
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบทางเดินหายใจ
Ottitis media
Pneumonia
ระบบหัวใจ
Myocarditis
Pericarditis
ระบบประสาท
Encephalitis
Guillain Barre Syndrom
อาการ
Fever* or feeling feverish/chills
Cough
Sore throat
Runny or stuffy nose
Muscle or body aches
Headaches
Fatigue (very tired)
การวินิจฉัย
ตรวจสารคัดหลั่ง
การตรวจหา RNA ของ Virus ด้วย RT-PCR
การตรวจน้ำเหลืองหา Antibody
สาเหตุ
ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด A,B,C
การพยาบาล
พักผ่อนมากๆ และอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ลดไข้ผู้ป่วย
การล้างมือ
กินอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย ควรดื่มน้ำมากๆ
ควรพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
ควรหยุดพักงานหรือการเรียนชั่วคราว จนกว่าจะหายเป็นปกติ เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรค
ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
ปิดจมูก ปาก เวลาไอหรือจาม และบ้วนน้ำลายลงในภาชนะที่ใส่ยาฆ่าเชื้อโรค
คำจำกัดความ
Seasonal influensa เกิดขึ้นประจำทุกปี ติดจากคนสู่คน
Avian influensa, Bird Flu, Avian Flu ติดจากสัตว์ปีกสู่คน
การรักษา
ให้ยาต้าน Antiviral teatment
เชื้อไข้หวัดนก ( Avian influenza
อาการ
มีไข้สูง
หนาวสั่น
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออ่อนเพลีย
มีน้ำมูกไอและเจ็บคอ
บางครั้งพบว่ามีอาการตาแดง
การวินิจฉัย
มีไข้มากกว่า 38 องศา
มีอาการทางเดินระบบหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ หายใจหอบ และ
ประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค หรือสัมผัสกับคนป่วยภายใน 10 วันก่อนเกิดอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่ง เช่นเสมหะ น้ำมูก
การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธี PCR influenza type A ให้ผลบวก
ยาที่ใช้รักษา
Oseltamivir [tamiflu]
Zannamivir[Relenza]
วิธีป้องกันการระบาด
ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้ออย่างรีบด่วน
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์
คนที่สัมผัสไก่ที่เป็นโรคและมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส
ผู้ที่ทำลายไก่ต้องสวมชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ
ต้องมีระบบคัดกรองผู้ที่สงสัยว่าจะเป็นไข้หวัดนก ออกจากผู้ป่วยอื่นทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน
ผู้ป่วยที่มีอาการไอหรือจาม ต้องใช้ Tissue ปิดปากและจมูก
จัดให้มี Alcohol สำหรับเช็ดมือ
แยกผู้ป่วยที่มีอาการไอออกจากผู้อื่นอย่างน้อย 3 ฟุต
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ( Severe Acute Respiratory Syndrome :SARS)
การติดต่อ
สัมผัสกับผู้ป่วย โดยเฉพาะของเหลว เช่น น้ำลาย น้ำมูก
อาการ
ไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ปวดศีรษะมาก
อาการเจ็บคอ ไอแห้ง ๆ
ปอดบวมอักเสบ
อาการหายใจลำบาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาเชื้อ MERS-CoV
จากเสมหะ
จาก Nasopharyngeal Aspiration
เอกซเรย์ ปอด (Chest imaging (e.g. X-ray or CT scan)
reverse-transcriptase polymerase chain reaction (RT-PCR)
สาเหตุ
เกิดจาก เชื้อไวรัสโคโรนา coronavirus (SARS-CoV)
การรักษา/การดูแล
1.การให้ยาต้านไวรัส
2.การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ
3.การรักษาตามอาการ ให้ supplemental oxygen therapyโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ SpO2 < ร้อยละ 90 เริ่มโดย การจากให้อ็อกซิเจน 5 ลิตรต่อนาที
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ จาม หรือโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เฉียบพลัน
ควรล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำและสบู่
หลีกเลี่ยง การเข้าไปในพื้นที่ แออัด หรือที่ สาธารณะที่มีคนอยู่จำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรค
แนะนำให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลาไอหรือจาม
ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
นายมงคล เนตรสกาว เลขที่ 56 รหัส 612501059