Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดหลักการพยาบาลภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิดหลักการพยาบาลภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
แนวคิด
Franco-German Model (FGM)
ใช้แพทย์ดูแลทีมเวชกิจช่วยเหลือ
Stay and Stabilize ใช้เวลานานดูแลอาการในที่เกิดเหตุ+นำนริการรพ.มาหาผู้ป่วย
ลำเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยงานเฉพาะทาง + เป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณะสุข
ใช้ Ambulance,Helicopter และ Coastal ambulance
ค่าใช้จ่ายต่ำ ผู้ป่วยได้รับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
Anglo-American Model (AAM)
ใช้ Ambulance เป็นหลัก+Aero-medical หรือ coastal ambulance
ค่าใช้จ่ายสูง ผู้ป่วยได้รับการนำส่งไปยังรพ.
ระบบเป็นส่วนหนึ่งขององค์การความปลอดภัยสาธารณะ
ใช้ทีมเวชกิจฉุกเฉิน+มีแพทย์กำกับ ลำเลียงผู้ป่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
Scoop and run ใช้เวลาในการนำส่งสั้นและเร็วที่สุด
หลักการพยาบาล
วิกฤต
หลักการเคลื่อนย้าย
ซักประวัติ
คัดกรองผู้ป่วย
รักษาพยาบาล
ดูแลจิตใจผู้ป่วย+ ญาติ
นัดหมายต่อเนื่อง
ส่งต่อการรักษา + ช่วยฟื้รคืนชีพ
ภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
ป้องกันและบรรเทาอาการ
บันทึกเหตุการณ์อาการช่วยเหลือ + ส่งต่อการรักษา
ความหมาย
3.อุบัติเหตุ
สิ่งที่ไม่คาดคิดที่ทำให้เกิดความเสียหาย
2.การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical
มุ่งเน้นการรักษาอาการแรกที่เห็น+ ป้องกันการเข้าสู่ภาวะคับขันและให้ความสำคัญกับทุกระบบไม่ให้เป็นปัญหาต่อไป
Crisis
มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่อัตราย โดยเฉพาะกับระบบในร่างกายเพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลวหรือรักษาสภาพการทำงานระบบนั้น
1.การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกระทันหันอาการรุนแรงต้องช่วยเหลือทันที
ลักษณะผู้ป่วย
วิกฤต
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้, ผู้ป่วยที่มีอัตรายสูง, ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มอาการรุนแรง,ผู้ป่วยที่มีอัตรายสูงแม้จะได้รับการรักษา
บาดเจ็บสาธารณภัย
1.อาการไม่รุนแรง เดินได้, 2.อาการหนักเดินเองไม่ได้, 3.อาการหนักมากต้องช่วยเหลือทันที
ภาวะฉุกเฉิน
ชัก,ไม่รู้สึกตัว,หยุดหายใจ,หายใจลำบาก คลำชีพจรไม่ได้หรือช้า,
BP drop, ซีด กระสับกระส่าย, เจ็บปวด มือเท้าเย็น เหงื่อออก,อุณหภูมิผิดปกติ
Trauma life support
การดูแลขั้นต้น
2.Resuscitation ช่วยเหลือรอดชีวิต
1.Primary Survey ประเมิน
B Breathing and ventilation
ช่วยผู้ป่วยให้ได้รับออกซิเจน+คาร์บอนไดออกไซด์
C Circulation with hemorrhagic control
ประเมินการไหลเวียนโลหิต เลือดออก
ประเมิน
หายใจเร็ว
BP drop ชีพจรเบาเร็ว
ปัสสาวะลดลง 30-50ml/hr.
กระหายน้ำท้องอืดคลื่นไส้
ผิวหนังเย็วเขียวคล่ำ
การเผาผลาญไม่ดี สับสนมึนงง
ระบบประสาทตอบสนอง
ตำแหน่งเสียเลือดที่สำคญ
ในช่องท้อง Diagnostic peritoneal lavage
อุ้งเชิงกราน เช่น Fracture pelvis + femur
ในช่องอก ตรวจร่างกาย เอกซเรย์ปอด ใส่ท่อระบาย
ที่ต้นขา เช่น fracture femur
A Airway maintenance with cervical spine protection
ประเมิน airwayทำให้ผู้ป่วยหายใจสะดวก
D Disability (Neurologic status)
ประเมินระบบประสาท-ไขสันหลัง
1.Glasgow coma scale
2.AVPU scale
Voice/verbal stimuli
Painful stimuli
Unresponsive
Alert
E Exposure / environmental control
ควรถอดเสื้อผ้าเพื่อตรวจร่างกาย ,พลิกตะแคงตัวดูการบาดเจ็บ log roll ไม่พบ bulbocarvernosus reflex
3.Secondary survey ตรวจร่างกาย
4.Definitive care รักษาหลังวินิจฉัยเบื้องต้น
การกู้ชีพ
Breathing ให้ออกซิเจนเพียงพอต่อร่างกาย ติดตามระดับความเข้มของออกซิเจน
Circulation ห้ามเลือด,ให้เลือด,ให้สารน้ำ,ประเมินความผิดปกติ,อุณหภูมิร่างกาย,EKG,ปริมาณปัสสาวะ,ใส่สายสวนกระเพาะ
Airway การช่วยหายใจ ใส่ท่อ
Trauma care system
2.การดูแลในระยะก่อนถึงรพ.Prehospital care
3.การดูแลในระยะที่อยู่รพ.Hospital care
1.การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น Access
4.การฟื้นฟู และการส่งต่อ Rehabilitation & transfer
ประเมินอย่างละเอียด Secondary surway
History
Past illness/Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/Environment related to injury เกิดขึ้นอย่างไร.รุนแรงเพียงใด,สถานกการณ์เป็นอย่างไร
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีต่างๆ
กลไกการบาดเจ็บ
Blunt trauma
เกิดจากอุบัติเหตุจราจร+พลัดตกจากที่สูง
Penetrating trauma
เกิดจากอาวุธปืน มีด
Physical Examination8 ควรตรวจร่างกายอย่างละเอียด
Cervical spine and Neck คลำให้ถึง cervical spine injury
Facial คลำกระดูกใบหน้าให้ทั่ว
Chest มองหารอยช้ำ ยุบ คลำเจ็บที่สุด
หากพบว่า
กะบังลมยกสูงผิดปกติหรือเห็นเงากระเพาะอาหาร
บ่งบอกว่ากะบังลมฉีกขาด
เงาอากาศในช่องท้องใต้กะบังลม บ่งบอกว่า
มีการบาดเจ็บของกระเพาะหรือลำไส้
Media sternum กว้าง บ่งบอกว่ามีการบาดเจ็บในช่องอด
Head ตรวจหนังศีรษะใช้มือคลำให้ทั่ว
Abdomen ตรวจช่องท้อง
ปัญหาสำคัญ
Pelvic fracture
Neurological system
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Reevaluation
Definitive care
แก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาจำเพาะของการบาทเจ็บแต่ละอวัยวะ ได้แก่การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่างๆ
อุบัติภัย
ประเภททอุบัติภัย
Multiple casualties
ไม่เกินขีดจำกัดความสามารถของรพ.
ผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิตจะได้รับการรักษาก่อน
Mass casualties
เกินขีดความสามารถของรพ.และทีมผู้รักษา
ผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุด ใช้เวลา+ทรัพยากรน้อยท่ีสุดจะได้รับการรักษาก่อน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
1.การบรรเทาภัย
2.การเตรียมความพร้อม
3.การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิก
Assessment
Hazard
Access
Type of accident
Number of casualties
Exact location
Emergency service
Major incident
Triage
Communication
Treatment
Safety A,B,C
Transportation
Command
4.การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอัตรายที่อาจเกิดขึ้น
5.การบูรณะฟื้นฟู
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
Incident command
Safety & Security
Detection
Assess Hazards
Support
Triage/Treatment
Evacuation
Recovery
ลักษณะพยาบาลสาธารณภัย
ต้องนำความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้
ป้องกันลดความรุนแรงและฟื้นฟู
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพ
คุณสมบัติพยาบาลสาธารณภัย
มีความรู้ทางการพยาบาล มีทักษะการตัดสินใจ มีภาวะผู้นำ แก้ไขปัญหามีทักษะการสื่อสารและบันทึก มีวุฒิภาวะที่เหมาะสม
ระบบทางด่วน Fast track/Pathway system
บทบาทพยาบาล
2.รายงานแพทย์
3.ประสานงาน
1.ประเมินเบื้องต้น
4.จัดการดูแลส่งต่อ
5.ดูแลตามแผนการรักษา
6.ติดตาทอย่างต่อเนื่อง
7.ช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติ
8.วิเคราะห์ดำเนินงาน
9.ทบทวนพัฒนาคุณภาพ
1.EMS(accessibility)
2.Triage/Specific triage/Assessment
3.Activate system
4.Flow (purpose-performance)
5.Investigation
6.Care delivery
7.Monitoring: early warning signs & E-response
8.Risk management (general&clinical)
9.Co-ordination, Communication, Handover
10.Inter & Intra transportation
11.Evaluation, output, outcome
12.Improvement,Innovation, Integration
หลักการ
4.ทำรายการตรวจสอบ
5.ฝึกอบรม
3.จัดทำแนวปฏิบัติ
6.เน้นย้ำเวลาสำคัญ
2.จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย
7.กำหนก clinical indicator
1.ทำงานร่วมทีมสหวิชาชีพ