Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย Roy's Adaptation Theory, PIC 1, ดาวน์โหลด (3),…
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย Roy's Adaptation Theory
รอยมีความเชื่อว่า "เมื่อบุคคลเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในชีวิตจะมีการปรับตัวไดีดี หรือไม่ ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของสิ่งที่มากระทบ"
กรอบแนวคิดของรอย
สิ่งนำเข้า (Input) :check:
สิ่งเร้า
สิ่งเร้าตรง :silhouette:สิ่งที่เผชิญโดยตรงและกระทบต่อบุคคลมากที่สุดทำให้ต้องปรับตัว
สิ่งเร้าร่วม :silhouette:สิ่งที่ไปเสริมสิ่งเร้าตรงให้มีผลกระทบต่อบุคคลมากขึ้น หรือลดลง
สิ่งเร้าแฝง :silhouette:เป็นผลมาจากประสบการณ์ในอดีตซึ่งเกี่ยวกับทัศนคติ ความเชื่อต่างๆ ที่จะมีหรือไม่มีก็ได้
การเผชิญปัญหา :check: เป็นกลไกการรับมือกับปัญหาโดยอัตโนมัติ
กลไกการควบคุม :star: เป็นกลไกที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติสมองไม่สามารถควบคุมได้ ที่เกิดจากการทำงานระบบประสาทอัตโนมัติและต่อมไร้ท่อ
กลไกการคิดรู้ :star:เกิดเนื่องมาจากกลไกการควบคุม สมองสามารถสั่งการได้ ทำให้เกิดการเรียนรู้ รับรู้ ตัดสินใจ ตอบสนองทางอารมณ์
การปรับตัว :check:เป็นภาวะการตอบสนองสิ่งเร้าเพื่อความอยู่รอดและเจริญเติบโต
การปรับตัวด้านร่างกาย :!:ระบบต่าง ๆ ในร่างกายของบุคคลเป็นการปรับตัวเพื่อดำรงไว้ซึ่งความมั่นคงด้านร่างกาย
การขับถ่าย (Elimination)
การมีกิจกรรมและการพักผ่อน (Activity and rest)
โภชนาการ (Nutrition)
การป้องกันอันตรายของร่างกาย (Protection)
ออกซิเจน (Oxygenation)
การรับความรู้สึก (Sense)
สารน้ำและอิเลคโตรไลท์ (Fluid and Electrolyte )
การทำหน้าที่ของระบบประสาท (Neurological function)
การทำหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine function)
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ :!:ความเชื่อ และความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเองนำไปสู่ความมั่นคงมางด้านจิตใจ
อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย :silhouette: เป็นความรู้สึกนึกคิดที่บุคคลมีต่อสภาพร่างกายและความสามารถของตนเอง
อัตมโนทัศน์ด้านบุคคล :silhouette:เป็นความเชื่อ ความรู้สึกที่มีต่อต้านความมั่นคงของตนเองด้านความคาดหวังและด้านศีลธรรมจรรยา
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ :!:เป็นการปรับตัวให้เกิดความมั่นคงทางสังคม
บทบาททุติยภูมิ :<3:เป็นบทบาทที่เกิดขึ้นภายหลัง มีความสอดคล้องกับบทบาทปฐมภูมิ
บทบาทตติยภูมิ :<3:เป็นบทบาทชั่วคราว
บทบทาปฐมภูมิ :<3:มีติดตัวมาตั้งแต่เกิด เกี่ยวกับแต่ละช่วงวัย
การปรับตัวด้านการพึ่งพาระหว่างกัน :!:เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
บุคคลใกล้ชิด :<3:สำคัญและมีความหมายกับชีวิตมากที่สุด เช่น คนในตรอบครัว
ระบบเกื้อหนุน :<3:มีความผูกพันน้อบกว่าคนใกล้ชิด เช่น เพื่อน
สิ่งนำออก (Output) :check:
ระดับการปรับตัวที่มีการผสมผสานกันได้ดี :recycle:ทำงานประสานกันได้อย่างเหมาะสม
ระดับการปรับตัวที่อยู่ในระยะของการชดเชย :recycle:กลไกการควบคุมและกลไกการคิดรู้ถูกกระตุ้นทำงาน
ระดับการปรับตัวที่อยู่ภาวะอันตราย/ไม่ดี :recycle:การปรับตัวยังไม่เพียงพอ
การพยาบาล :smiley:
ขั้นที่ 3 การวินิจฉัยทางการพยาบาล :pencil2:เป็นการเอาข้อมูลจากการประเมินทั้งหมดมาสรุป
ขั้นที่ 4 การตั้งเป้าหมายของการพยาบาล :pencil2:มุ่งที่จะปรับพฤติกรรมที่มีปัญหาไปสู่พฤติกรรมการปรับตัวที่เหมาะสม
ขั้นที่ 2 การประเมินสิ่งเร้า :pencil2: เป็นการหาสาเหตุสิ่งเร้าตรง สิ่งเร้าร่วม สิ่งเร้าแฝง โดยสิ่งเร้าจะมีผลกระทบมากที่สุด
ขั้นที่ 5 การให้การพยาบาล :pencil2:การให้การพยาบาลเพื่อให้ปรับตัวได้โดยแก้ไขปัญหา
ขั้นที่ 1 การประเมินพฤติกรรม :pencil2: รวบรวมข้อมูลการปรับตัวทั้ง 4 ด้าน
ขั้นที่ 6 ประเมินผล :pencil2:โดยดูว่าการให้การพยาบาลบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
:red_flag:
นางสาวจิรชยา หุ้มไหม เลขที่ 13 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา 613601014