Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 4.1 ความผิดปกติของการตังครรภ์, นางสาวนภัสสร แนบชิตร์ รหัส…
บทที่ 4
4.1 ความผิดปกติของการตังครรภ์
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง
(Hyperamesis gravidarum)
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียน 5 ถึง 10 ครั้ง/วันอ่อนเพลีย
ไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้
อาการไม่รุนแรง
สามารถทํางานได้ปกติ
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน
อาการรุนแรงมาก
นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
อาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
การเจ็บครรภ์คลอดอายุครรภ์น้อยกว่าหรอเท่ากับ 37 สัปดาห์
แนวทางการรักษา
ให้ยายับยังการหดรัดตัวของมดลูก
กลุ่ม calcium channel blocking
กลุ่ม เบต้า 2 adrenergic agonist
เร่งการเจริญ ของปอดทารก dexamethasone 6 mg IM x4 dose q 12 h
การตั้งครรภ์แฝด
(Multiple pregnancy)
แฝดเทียม False twins
ใข่ 2 ใบ สเปิร์ม 2 ตัว
คนละรอบเดือน
รอบเดือนเดียวกัน
แฝดแท้ True twins
ไข่ 1 สเปิร์ม 1
ถุงนําครําแตกก่อนการเจ็บครรภ์
PROM
นานเกิน 24 ชัวโมงเสียงต่อการติดเชื้อสูง
อาการและอาการแสดง
นํ้าเดิน (MR)
มีนาใสๆไหลออก
ทางช่องคลอด PV พบส่วนนําทารก
ไม่พบถุงนํ้า
นําครํารัว (ML)
มีน้ำใสๆไหล
ออกทางช่องคลอด PV พบถุงนํ้า
ยังมีอยู
ทารกตายในครรภ์
(Death fetus in utero)
Early maceration
เกิดการเปลียนแปลงภายหลัง 24 ชัวโมง
หลังทารกตายมีการแยกชัน epidermis
ผิวหนังมีสีแดง
Intermediate maceration
พบหลังทารกตายแล้ว 48 ชัวโมง
ผิวหนังลอกอวัยวะภายในสีคลํากดศีรษะ
เหมือนมีนําขังอย
การวนิจฉัย
Deuel sign
มีของเหลวระหว่างชันไขมันของหนังศีรษะและกะโหลก
กระดูกสันหลังคดงอมากกว่าปกติ
Spalding 's sign
การเกิดการของกะโหลกศีรษะพบหลังทารกตาย 1 สัปดาห์
Robert sign
พบเหงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่
Late maceration
หลังจากทารกตายแล้วนานกว่า 1 สัปดาห์
ผิวหนังเปลียนเปนสีนําตาล สีเขียว
ความผิดปกติของนํ้าคร่ำ
ภาวะนํ้าครํ่ามากผิดปกติหรอครรภ์แฝดนํา
(Polyhydramnios)
แนวทางการรักษา
การให้ยา indomethacin 1.5 ถึง 3 mg/kg/day ซึงมีกลไกออกฤทธิทีปอดของทารกในครรภ์และลดการขับปัสสาวะของทารกในครรภ์
ถ้าพบความผิดปกติของทารกอาเซียนสุดการตังครรภ์
แพทย์ใช้เข็มเจาะทางหน้าท้องมารดาให้นําครําไหลออ
กช้าๆไม่ควรเกินครังละ 500 - 1000 ml
ไม่จําเปนต้องงดอาหารเค็มและจํากัดนําดืม
AFI > 25 cm
ภาวะนํ้าครํ่าน้อย
(Oligohydramnios)
แนวทางการรักษา
ใส่นําเกลือไอโซโทนิกเข้าไปในถุงนําครํ่าไม่เกินครั้งละ 200 ml
การใส่สายเข้าไปในกระเพาะปสสาวะของทารก
AFI < 5 cm
การตั้งครรภ์ทีมีภาวะเสียง
การตั้งครรภ์ทีไม่พึงประสงค์เกิดขึนเมือสตรีไม่ต้องการให้มีการตั้งครรภ์เกิดขึนส่งผลให้มีทัศนคติทีไม่ดีต่อการตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ทีมีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
วงจรความรุนแรง
หญิงตั้งครรภ์อายุมากคือ หญิงทีมีการตั้งครรภ์ที่มีอายุครบ 35 ปีก่อนถึงวันกําหนดคลอด
มารดาที่ใช้สารเสพติดในระหว่างตั้งครรภ์ทําให้ทารกเกิดกลุ่มอาการทีเรยกว่า fetal alcohol syndrome
Adolescents ช่วงอายุ 15-19 ปี
Youger adolescents ช่วงอายุ 10 - 14 ปี
ภาวะทารกเจรญ เติบโตช้าในครรภ์
(IUGR)
การจําแนก
Asymmetrical IUGR ขนาดเล็กทุกระบบ
อวัยวะยกเว้นขนาดศีรษะทีปกติ
Combined IUGR เจรญ เติบโตช้าแบบผสม
ผสาน
symmetrical IUGR เจรญ เติบโตช้าทุกอวัยวะ
การวนิจฉัย
ตรวจหา fetal structuralanomalies การวัดปริมาณนํ้าครํ่าภาวะ IUGR พบเรองoligo hydraminios
ตั้งครรภ์เกินกําหนด
(Postterm pregnancy)
GA > 42 weeks
การดูแลรักษา
การติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
การชักนําการคลอด
การแซะแยกถุงนําครํา
การใช้ยา prostaglandin
นางสาวนภัสสร แนบชิตร์ รหัส 602701038