Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม (OREM SELF - CARE DEFICIT THEORY),…
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
(OREM SELF - CARE DEFICIT THEORY)
มโนทัศน์หลักของศาสตร์การพยาบาล
บุคคล
อธิบาย Human being หรือ บุคคลว่า เป็นหน่วยเดียวของกายและจิต เป็นองค์รวมที่เป็นระบบเปิดและเป็นพลวัตร
มีศักยภาพในการกระทำอย่างจงใจ และมีเป้าหมาย
มีความสามารถในการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง
สามารถวางแผนระบบระเบียบในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการดูแลตนเองได้
สิ่งแวดล้อม
สิ่งที่ไม่สามารถแยกจากบุคคลได้ จะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลตลอดเวลา
มีผกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ต่อชีวิต สุขภาพ ความผาสุก ของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
แบ่งออกเป็น 4 ด้านที่มีความสัมพันธ์กัน
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ และสังคม ซึ่งสามารถควบคุมได้
สุขภาพ
ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของโครงสร้างการทำ หน้าที่ของกายและจิต
โอเรมว่า ผาสุก (Well being) เป็นการรับรู้ถึงภาวะของตนเอง มีลักษณะของความสุขทางจิตวิญญาณ คงสภาพความเป็นบุคคลไว้ได้
การพยาบาล
การช่วยเหลือทางสุขภาพที่มีลักษณะที่เฉพาะแตกต่างจากการช่วยเหลืออื่น ๆ ที่บุคคลได้รับ
ช่วยเหลือบุคคลที่ไม่สามารถดูแลตนเองหรือผู้ที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ
เพื่อรักษาไว้ซึ่งชีวิต สุขภาพ การหายจากโรค หรือการบาดเจ็บ เป็นต้น
มโนมติหลักของทฤษฎี
(Major concept)
การดูแลตนเอง
(self-care)
การปฏิบัติกิจกรรมที่บุคคลริเริ่มกระทำอย่างมีเป้าหมาย เพื่อดำรงรักษาชีวิต สุขภาพ และความผาสุกในชีวิต หากมีประสิทธิภาพจะส่งเสริมให้มีโครงสร้าง การทำหน้าที่ และพัฒนาการของแต่ละบุคคลดำเนินไปถึงขีดสูงสุด
การกระทำอย่างจงใจและมีเป้าหมาย
(Deliberate action) มี 2 ระยะ
1) ระยะการพิจารณาตัดสินซึ่งจะนําไปสู่การกระทำ
2) ระยะการกระทำและผลของการกระทำ
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
(Therapeutic self-care demand)
การดูแลตนเองที่จําเป็นโดยทั่วไป (Universal self-care requitsits)
1.5 การป้องกันอันตรายต่อชีวิต หน้าที่ และสวัสดิภาพ
1.5 การป้องกันอันตรายต่อชีวิต หน้าที่ และสวัสดิภาพ
1.4 การคงไว้ซึ่งความสมดุลยระหว่างการอยู่คนเดียวกับการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
1.6 การส่งเสริมการทำหน้าที่และพัฒนาการให้ถึงขีดสูงสุดภายใต้ระบบสังคมลและความสามารถของตนเอง
1.3 การคงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรมและการพักผ่อน
1.2 การคงไว้ซึ่งการขับถ่ายและการระบายให้เป็นไปตามปกติ
1.1 การคงไว้ซึ่งอากาศ น้ำ และอาหารที่เพียงพอ
การดูแลตนเองที่จําเป็นตามระยะพัฒนาการ (Developmental self-care requisites)
การดูแลตนเองที่จําเป็นในภาวะเบี่ยงเบนด้านสุขภาพ (Health deviation self-care requisites)
3.2 รับรู้สนใจ และดูแลผลของพยาธิสภาพรวมทั้งผลที่กระทบต่อพัฒนาการ
3.3 ปฏิบัติตามแผนการรักษา การวินิจฉัย การฟื้นฟูสภาพและการป้องกันโรค
3.1 แสวงหาและคงไว้ซึ่งความช่วยเหลือจากบุคคลที่เชื่อถือได้
3.4 รับรู้ สนใจที่จะคอยปรับ ป้องกันความไม่สุขสบายจากผลข้างเคียงของการรักษา
3.5 ดัดแปลงอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ในการที่จะยอมรับภาวะสุขภาพของตนเอง
3.6 เรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับผลของพยาธิสภาพ หรือผลของการวินิจฉัย
ความสามารถในการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพา
(Dependent care agency)
เป็นความสามารถที่ได้จากการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติที่ซับซ้อนที่ช่วยให้พยาบาลสามารถวินิจฉัยและให้การพยาบาลแก่บุคคลที่มีความบกพร่องในการดูแลตนเอง
ความสามารถทางการพยาบาลระบบการพยาบาล
(nursing system)
เป็นระบบของการกระทำที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามความสามารถ และความต้องการการดูแลตนเองของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
มี 3 ระบบ
1) ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly compensatory nursing system)
2) ระบบทดแทนบางส่วน (Partly compensatory nursing system)
3) ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ (Educative supportive nursing system)
วิธีการช่วยเหลือผู้ป่วย 5 วิธี
การกระทำให้การชี้แนะ
การสอน
การสนับสนุน
การสร้างสิ่งแวดล้อม
ความพร่องในการดูแลตนเอง
(self-care deficit)
เป็นภาวะไม่สมดุลระหว่างความสามารถในการดูแลตนเอง
จําแนกเป็น
ความพร่องในการดูแลตนเองอย่างสมบูรณ์ คือไม่สามารถดูแลตนเองได้เลย
ความพร่องในการดูแลตนเองบางส่วน คือภาวะที่บุคคลมีข้อจำกัดในการดูแลตนเองบางส่วน
ความสามารถในการดูแลตนเอง
(self-care agency)
เป็นความสามารถที่พัฒนาขึ้นอย่างซับซ้อนของบุคคลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดทฤษฎีความสามารถในการดูแลบุคคลอื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบ เรียกว่า dependent care agency
ความสามารถในการปฏิบัติเพื่อดูแลตนเอง (Capabilities for self – care operations)
ความสามารถในการคาดคะเน เป็นการเรียนรู้ข้อมูลความหมาย และความจําเป็น เพื่อประเมินสถานการณ์
ความสามารถในการปรับเปลี่ยน เป็นการตัดสินใจ ควรกระทำ เพื่อสนองความต้องการและความจําเป็นในการดูแลตนเอง
ความสามารถในการลงมือปฏิบัติ เป็นการทำกิจกรรมต่าง ๆ การเตรียมการเพื่อการดูแลตนเอง
ปัจจัยพื้นฐาน
(Basic conditioning factors)
เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
ปัจจัยพื้นฐาน
อายุ
เพศ
ระยะพัฒนาการ
ภาวะสุขภาพ
สังคมวัฒนธรรม
การศึกษา
อาชีพ
ประสบการณ์ชีวิต
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบครอบครัว
แบบแผนการดำเนินชีวิต
สิ่งแวดล้อม
แหล่งประโยชน์
นางสาวภัคจิรา พูลทอง เลขที่ 61 ห้อง B รหัสนักศึกษา 613601169