Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไข้เลือดออก, mo1_001 - Coggle Diagram
โรคไข้เลือดออก
การเจาะเลือดตรวจวินิจฉัย
เพาะเชื้อไวรัสไข้เลือดออก
Haemagglutination inhibition (HI) test
Neutralization test (NT)
IgM -capture enzyme-linked immuno-sorbent assay
IgG -ELISA
ความรุนแรงของโรค
Grade 2
ผู้ป่วยไม่ช็อก มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง มีเลือดกำเดาไหล หรืออาเจียนเป็นเลือด
Grade 1
ผู้ป่วยไม่ช็อก เป็นไข้เลือดออกโดยที่ไม่มีจุดเลือดออก ทำ tourniquet test ให้ผลบวก
Grade 3
ผู้ป่วยช็อก มีความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเร็ว pulse pressure แคบ เหงื่อออก กระสับกระส่าย
Grade 4
ผู้ป่วยช็อกรุนแรง วัดความดันโลหิตไม่ได้
จำแนกตามกลุ่มอาการติดเชื้อไข้เลือดออก**
Undifferentiated fever (UF)
กลุ่มอาการไวรัส ปรากฏเพียงมีไข้ 2-3 วัน บางครั้งอาจมีผื่น
Dengue fever (DF)
การติดเชื้อ
Primary infection
อาการน้อยมากซึ่งอาการไม่แตกต่างจากไข้หวัดธรรมดา
ระยะฟักตัว
โดยเฉลี่ย 3-14 วัน ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ครั่นเนื้อครั่นตัว หลังจากนั้นจึงมีไข้สูงหนาวสั่นปวดศีรษะมาก หน้าแดง ภายใน 24 ชั่วโมงจะมีอาการปวดกระบอกตา เวลากรอกตาจะปวดเพิ่มขึ้น ไม่กล้าสู้แสง ปวดหลังปวดกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ คลื่นไส้เบื่ออาหาร ปวดท้อง
อาการและอาการแสดง
มีจุดเลือดออกตามผิว
ไข้สูง 39-40 องศาไข้มักจะขึ้นสูงวันละ 2 ครั้ง
ผื่น อาจจะอยู่ 3-4 วันหลังจากนั้นจะจางลงพร้อมมีผื่นไข้เลือดออกตามมาซึ่งมักจะปรากฎที่หลังเท้า หลังมือแขน
ข้อพึ่งสังเกต
ไข้เหมือนการติดเชื้อไวรัส
มักจะเกิดกับเด็กโตหรือผู้ใหญ่ ผู้ที่มีไข้ทันทีและมีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 อย่าง ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และผื่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจเลือด CBC มักจะปกติ ในช่วงไข้เม็ดเลือดขาวอาจจะต่ำ
เกร็ดเลือดมักจะมีจำนวนลดลง
ผลการทำงานของตับมักจะปกติ
การดูแลผู้ป่วย
การพักผ่อนในระยะที่มีไข้
การเช็ดตัวหรือการให้ยาลดไข้โดยพยายามให้อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า40 องศา ยาลดไข้ที่ใช้ได้ผลดี คือ พาราเซลตามอล (paracetamol)
ยาแก้ปวดสำหรับคนที่มีอาการปวด
การให้น้ำเกลือแร่ทางปากกรณีที่มีอาเจียนหรือเสียเหงื่อมาก
ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินจนกระทั่งไม่มีไข้ และผลเลือดกลับสู่ปกติ
Dengue hemorrhagic fever (DHF)
อาการ
แน่นท้อง เจ็บชายโครงข้างขวา ปวดท้อง เนื่องจากตับโต มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง แม้ว่าตับจะโตแต่มักจะไม่มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
การวินิจฉัย
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
มีอาการเลือดออก ส่วนใหญ่จะพบที่ผิวหนัง
มีตับโต กดเจ็บ
มีการไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อก
การวินิจฉัยห้องปฏิบัติการ
เม็ดเลือดขาวมักจะปกติหรือสูงในช่วงแรกแต่เมื่อเข้าสู่วันที่ไข้จะลง เม็ดเลือดขาวจะลดลง และมี atypical lymphocytes เพิ่มมากขึ้น
เลือดข้นขึ้น การเพิ่มของความเข้มข้นของเลือด Hct 20% เมื่อเทียบกับ Hct เดิม
กลไกการเกิดโรค
เกิดจากการที่มีการรั่วของพลาสมาเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องท้อง
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เกร็ดเลือดต่ำทำให้เลือดออกง่าย
ข้อสังเกต
ผู้ป่วยที่อาการไม่มาก ไข้จะลงและหายเป็นปกติ
ผู้ป่วยจะมีอาการแย่ลงหลังจากมีไข้ 2-3 วันไข้จะลง วันที่ 3-7 นับจากเริ่มมีไข้ จะมีลักษณะของช็อค
หากรักษาไม่ทันผู้ป่วยจะมีอาการ ของช๊อคชัดเจนขึ้น
หากรักษาไม่ทันผู้ป่วยจะเข้าสู่ภาวะช๊อคเต็มรูปแบบ
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร ในสมอง
ข้อสำคัญ/ข้อแตกต่างของDHFและDSS ที่แตกต่างจากไข้เดงกี
ความเข้มข้นของเลือดเพิ่มขึ้น 20 %
มีน้ำในช่องท้องหรือช่องเยื่อหุ้มปอด
ผู้ป่วยที่มีความรุนแรงระดับ 1-2 อาจจะให้น้ำเกลือ 1-2 วัน
ส่วนผู้ที่มีระดับเกร็ดเลือดต่ำกว่า 50,000 หรือความเข้มข้นของเลือดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือมีเลือดออกควรที่จะรับตัวไว้ในโรงพยาบาล
ระยะตามการดำเนินของโรค
ระยะไข้
39-41°C มีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง
ระยะวิกฤต/ช็อก
ประมาณ 24-48 ชม. หลังไข้ลดมีการรั่วของพลาสมา
pt. บางรายมีอาการรุนแรง การไหลเวียนล้มเหลว มีอากากระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ชีพจรเบาเร็ว BP เปลี่ยนแปลง pulse pressure ≤ 20 mmHg.
ระยะฟื้นตัว
ไข้ลด ส่วนใหญ่จะดีขึ้น
Dengue Shock Syndrom
( DSS )
อาการ
ชีพจรเบาเร็ว
มีการเปลี่ยนแปลงในระดับความดันโลหิตโดยตรวจ พบมี Pulse pressure แคบน้อยกว่า 20 mmHg โดยที่ความดันยังไม่ต่ำเช่น 100/80 หรือมีความดันโลหิตต่ำ
มือเท้าเย็น กระสับกระส่าย
poor capillary refilled <2 วินาที
ภาวะฉุกเฉินที่ต้องให้การรักษา
1.การให้น้ำเกลือต้องให้ปริมาณเพียงพอที่จะให้ความดันกลับสู่ปกติ และให้ให้เร็ว
หากได้ปริมาณน้ำเกลือที่เพียงพอแล้วความดันโลหิตยังไม่ขึ้น ให้สารน้ำที่เรียกว่า colloidal
ผู้ป่วยบางรายที่น้ำเกลืออย่างเพียงพอแล้ว แต่ความดันของเลือดยังไม่ขึ้น
ให้สงสัยว่าอาจจะมีเลือดออกภายในร่างกาย
เมื่อสัญญาณชีพคงที่แล้วต้องรีบลดปริมาณน้ำเกลือ
จะหยุดน้ำเกลือเมื่อสัญญาณชีพคงที่ ความเข้มของเลือดคงที่ประมาณ 40%
ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ ปัสสาวะออกดี
โดยทั่วไปการให้น้ำเกลือมักจะไม่เกิน 48 ชั่วโมงหลังช๊อค
การวินิจฉัย
มีไข้สูงเนื่องจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี
เสี่ยงต่อการได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากรับประทายอาหารได้น้อย
มีความไม่สุขสบายจากอาการปวดท้อง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ และเจ็บชายโครงขวา จากตับโต กดเจ็บ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออก เนื่องจากหลอดเลือดเปราะแตกง่าย และมีเกล็ดเลือดต่ำ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก เนื่องจากมีการรั่วของพลาสมา และหรือมีเลือดออก
อาจเกิดภาวะน้ำเกิน จากการได้รับการรักษาและจากพยาธิสรีรวิทยาของโรค
มีความกลัวและความวิตกกังวลต่อความเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลที่ได้รับ และต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
บิดามารดามีความวิตกกังวลต่อความเจ็บป่วยของบุตรที่อาจคุกตามต่อชีวิต
การรักษาและการพยาบาล
ระยะไข้สูง
ให้ยาลดไข้ ไม่ควรให้ยาจำพวกแอสไพริน ดูแลเช็ดตัวลดไข้
ดูแลให้น้ำอย่างเพียงพอ หรือควรให้ดื่มน้ำผลไม้หรือ Oral rehydration solution (ORS)
ระยะช็อก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลเรื่องการรับประทานอาหารและหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสีดำ สีแดง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า/ออก
การป้องกันและการควบคุมโรค
กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ป้องกันไม่ให้ยุงลายกัดในเวลากลางวัน
กำจัดยุงลาย โดยการแจ้งไปยังกรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข
สาเหตุ/การแพร่กระจายของเชื้อ
เชื้อไวรัสเดงกี่ (Dengue virus)
ยุงลายAedes aegyti ตัวเมียเป็นตัวนำเชื้อ
เชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนในตัวยุง 8-10 วัน
ชนิดและลักษณะของเชื้อไวรัสแดงกี
single stranded RNA
DEN1
มี antigen ร่วมกันบางส่วนทำให้เกิดการติดเชื้อชนิดหนึ่งจะ
เกิดภูมิคุ้มกันต่อเชื้ออีกชนิดหนึ่ง แต่ภูมิที่เกิดจะอยู่ได้ 6-12 เดือน
ส่วนภูมิที่เกิดกับเชื้อที่ป่วยจะมีตลอดชีวิต
DEN2
DEN3
DEN4