Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๔ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดแูลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยง…
บทที่ ๔ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดแูลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยง และปัญหาสขุภาพ เนื่องจากการตั้งครรภ์ในระยะตั้งครรภ์ระยะคลอด และระยะหลงัคลอด
- อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง :tada:
-
สาเหตุ
- ระดับของฮอร์โมนที่สร้างจากรก HCG : & Estrogen :check:
- ผลของ H. Progesterone :check:
- ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ :check:
- สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ
- ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน
พยาธิสภาพ
เมี่อมีการกระตุ้นที่ศูนย์ควบคุมการอาเจียน จะส่งประสาทความรู็สึกไปผลดัน สิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหารและลำไส้ส่วนต้นออกมา ซึ่งเป็นการตอบสนองของร่างกายที่อยู่ ภายนอกอำนาจจิตใจ
อาการและอาการแสดง
อาการไม่รุนแรง :warning:
- อาเจียนน้อยกว่า5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
- ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
- น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
- มารดาสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
-
อาการรุนแรงมาก :fire:
- อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ 2.อาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สปัดาห์ เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
-
-
-
-
-
-
-
สาเหตุ :check:
- การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ(chorioamnionitis)
- มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
- ครรภ์แฝด(twins) และครรภ์แฝดน้ำ (hydramnios)
- การเจาะถงุน้ำคร่ำ
- ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าขวาง CPD
- รกลอดตัวก่อนกำหนด(abruptio placenta) หรือ รกเกาะต่ำ(placenta previa)
- ปากมดลูกปิดไม่สนิท(cervical incompetence)
- ปัจจัยส่วนบุคคลหรือพฤติกรรมของสตรี ตั้งครรภ์ เช่น มีเศรษฐานะต่ำสูบบุหรี่มากกว่า 20 มวน/วัน
-
-
-
-
-
สาเหตุ :forbidden:
- โรคที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์
2 .โรคที่เกิดร่วมกับการตั้งครรภ์ ได้แก่ เบาหวาน ภาวะโลหิตจาง
- โรคติดเชื้อ ได้แก่ มาลาเรีย ไทฟอยด์ ปอดบวม หัดเยอรมัน เริม และคางทูม
- ภาวะผิดปกติของทารก ได้แก่ IUGR , hydrops fetalis , ความผิดปกติแต่กำเนิด :star: เช่น CHD, anencephaly
- ความผิดปกติของโครโมโซม
- การได้รับอุบัติเหตุของหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลต่อทารกในครรภ์
- อันตรายจากการคลอด :confetti_ball:
อาการ :check:
1.เด็กไม่ดิ้น มีเลือดหรือมีน้ำสีน้ำตาลออกทางช่องคลอด น้ำหนัก ตัวลดลง เต้านมดัดตึงน้อยลง นุ่มและ เล็กลง
2.ตรวจหน้าท้อง พบระดับมดลูกต่ำกว่าอายุครรภ์และคลำตัวทารกพบว่าไม่รู้สึกว่าทารกดิ้นมา กระทบมือ ฟัง FHS ไม่ได้ คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้ เนื่องจากกระดูก กะโหลกศีรษะเกยกัน :fire:
การวินิจฉัย :pencil2:
-
ตรวจ Lab
estriol ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง พบว่า มีระดับลดต่ำลงทันที ภายใน 24-48 ชั่วโมง หรือตรวจหา creatinine phosphokinase activity ในน้ำคร่ำพบว่า สูงขึ้นมากภายหลังทารกตาย :check:
-
-
-
แนวทางการรักษา :pen:
- รอให้เจ็บครรภ์และคลอดเอง
- การทำให้ครรภ์สิ้นสุดลง
2.1 ให้ oxytocin โดยให้ syntocinon
2.2 ฉีดน้ ายาเข้มข้นเข้าถุงน้ำคร่ำ ทางหน้าท้อง (amnioinfusion) น้ำยาที่ใช้เป็น hypertonic solution
- ในรายที่มีภาวะเลือดไม่แข็งตัว การใช้ heparin จะได้ผลดี :red_flag:
การพยาบาล👩🦳👩🦰👧
1 . ประเมินความเศร้าโศกของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
- ประเมินประสบการณ์ การแก้ปัญหา หรือการเผชิญปัญหาเมื่อเกิดการสูญเสีย
3.ประเมินระบบสนับสนุน ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม การปฏิบัติเิกี่ยวกับ DFI 💯🤣
-
- ครรภ์แฝด :checkered_flag: :red_flag:
ชนิดของครรภ์แฝด
1.Monozygotic, Monoamniotic monochorionic (Identical) twins แฝดชนิดนี้เป็นแฝดแท้ (True twins) เกิดจากการผสม ของไข่ใบเดียว กับเชื้ออสุจิตัวเดียวจนได้ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ แล้ว แยกตวัเองเป็น 2 ใบ 3 :silhouettes: :star:
- Dizygotic (Fraternal) twins/แฝดเทียม (False twins) เกิดจากการผสมของไข่ 2 ใบ กับเชื้ออสุจิ 2 ตัว อาศัยอยู่ มดลูกเดียวกัน จะพบ Diamnion dichorion มีรก 2 อัน :red_flag:
-
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน :red_cross:
มารดา :silhouette:
โลหิตจาง (Anemia)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด
รกเกาะต่ำ(Placenta previa)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placentae)
Vasa previa
ครรภแฝดน้ำ (Hydramnios)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
การคลอดยืดเยื้อ (Uterine dysfuction)
การคลอดติดขัด (Obstructed labor)
ทารก :smiley:
- ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Fetal death in utero) เกิดจากภาวะพิการโดยกำเนิดแฝดติดกัน (Siamese twins) สายสะดือพันกันหรือถูกกด การแย่งโภชนาการกัน
- คลอดก่อนกำหนด พบได้มากถึงร้อยละ 78 ในครรภ์แฝดคู่
- ภาวะอันตรายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น :no_entry:
-
-
- ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด👨🔬
📌เจ็บครรภ์หรือการคลอดขณะอายุครรภ์ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 37 สัปดาห์ นับจากวันแรกของการมีประจำเดือน ครั้งสุดท้าย
-
-
📌สาเหตุ
- ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
- การติดเชื้อของน้ำคร่ำ
- ความผิดปกติของทารกหรือรก
- เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดหรือแท้ง ในระยะหลังของการตั้งครรภ์
- มดลูกขยายโตกว่าปกติ มักพบจากการ ตั้งครรภ์แฝด หรือครรภ์แฝดน้ำ 👧6. ทารกเสียชีวิตในครรภ์
- เนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่มผิดปกติ
- ความผิดปกติของมดลูก
- ความผิดปกติของรก
- ห่วงอนามัยค้างอยู่ในโพรงมดลูก
- โรครา้ยแรงของมารดา
- การชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกำหนด🥼
:red_flag:
ปัจจัยเสี่ยง :star:
- อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
- ตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา 3. น้ำหนักน้อยกว่า 50 กก. เมื่อเริ่มตั้งครรภ์และเพิ่มน้อย ในระยะตั้งครรภ์
- สูบบุหรี่และใช้สารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน 5. เคยมีประวัติแท้ง โดยเฉพาะเมื่อตั้งครรภ์ในไตรมาสที่2 หรือมีเลือดออกทางช่องคลอดในไตรมาสที่ 2 หรือไตรมาส ที่ 3 ของการตั้งครรภ์
- มีการอักเสบ ติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ 👩🦰🧑
ผลกระทบ
-
ทารก👱♂️
ระยะแรก ได้แก่ RDS,Hypoglycemia
ระยะยาว ได้แก่ bronchopulmonary dysplasia, cerebral palsy
-
-
การรักษา🚛
-
GA ต่ำกว่า 24 สัปดาห์
ไม่ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด และไม่ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ เพราะกลัวการติดเชื้อในทารกแรกเกิด (GBS) มากกว่าการคลอดก่อนกำหนด
GA 24-34 สัปดาห์
bed rest
ให้ยา nifedipine , terbutaline ให้ dexamethasone
หากมีการคลอดก่อนกา หนดให้ยาปฎิชีวะเพื่อ ป้องกันการติดเชื้อในทารกแรกเกิด (GBS)
-