Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฏหมาย
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายสูงสุดของประเทศ
เป็นกฎหมายแม่บท
กฎหมายอื่นขัดแย้งไม่ได้
พระราชบัญญัติ(พรบ.)
ออกโดยฝ่ายนิติบัญญํติ
มีรัฐธรรมนูญเป็นแม่บท
พระราชกำหนด(พรก.)
ออกโดยฝ่ายบริหาร
ใช้ในกรณีฉุกเฉินที่จำเป็นเร่งด่วน
พระราชกฤษฏีกา
เป็นรายละเอียดปลีกย่อยของพรบ./พรก.
ออกโดยฝ่ายบริหาร
ไม่สามารถกำหนดบทลงโทษได้
ถ้ากฎหมายแม่บทถูกยกเลิกจะถูกยกเลิกตามไปด้วย
กฎกระทรวง
ออกโดยฝ่ายบริหาร
เกี่ยวกับรายละเอียดการปฏิบัติงาน ตามพรบ.นั้นๆ
บังคับใช้กับประชาชนทั่วไป
ระเบียบ/ข้อบังคับ
ออกโดยหัวหน้า/องค์กร
มีผลบังคับใช้กับสมาชิก
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
ต้องบังคับใช้ได้ทั่วไปกับทุกคนในราชอาณาจักร
ต้องมีสภาพบังคับ
ผลดี
ผลร้าย
โทษจำคุก ปรับ กักขัง ประหารชีวิต
กำหนดหรือตราขึ้นโดยผู้มีอำนาจ
ประเภทของกฎหมาย
แบ่งตามความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน
รัฐ vs ประชาชน
ex.กฎหมายรัฐธรรมนูญ,กฎหมายอาญา
กฎหมายเอกชน
บุคค vs บุคคล
ex.กฏหมายแพ่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ
ประเทศ vs ประเทศ
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
แผนกคดีเมือง
แบ่งตามแหล่งกำเนิด
กฏหมายภายใน
บัญญัติใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
บัญญัติโดยองค์การระหว่างประเทศ
แบ่งโดยใชัลักษณะของกฎหมาย
กฏหมายสารบัญญัติ
กำหนดสิทธิหน้าี่ที่ให้ปฏิบัติ
ex.กฏหมายแพ่ง,กฏหมายอาญา
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
วิธีพิจารณาคดีของศาล
ลักษณะระบบศาลไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาปัญหา/กฏหมาย
เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญเท่านั้น
ศาลยุติธรรม
ศาลชั้นต้น
ศาลแพ่ง
ศาลอาญา
พิจาณาคดีขั้นต้น
พิจารณาคดีทั้งปวง
ศาลอุทธรณ์
พิจารณาคดีที่มีการยื่นอุทธรณ์จากศาลชั้นต้น
ศาลฏีกา
พิพากษคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษา
คำพิพากษาถือเป็นที่สิ้นสุด(คดีแดง)
ศาลปกครอง
พิจารณาคดีพิพาทระหว่างรัฐกับหน่วยงานอื่น
ใช้ระบบไต่สวน(ศาลสืบเอง)
ศาลทหาร
พิจารณาคดีของทหารหรือระหว่างทหารกับพลเรือน
ความหมายของกฏหมาย
ระเบียบ/ข้อบังคับที่ออกโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
เพื่อให้คนในสังคมปฏิบัติตาม
เพื่อให้เกิดความสงบสุข