Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือ…
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ประกอบด้วย
biochemical assessment
Biophysical Assessment
Electronic Fetal monitoring
วิธี Biochemical Assessment
การเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ
(Amniocentesis)
เป็นการเจาะดูุดน้ำคร่ำผ่านทางหน้าท้องมารดาเข้าสู่โพรงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ
เพื่อดูว่าทารกในครรภ์เป็นโรคหรือไม่
ข้อบ่งชี้ในการเจาะน้ำคร่ำ
เพื่อตรวจหาความผิดปกติทางโครโมโซม
เพื่อค้นหาโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
นำน้ำคร่ำมาวิเคราะห์DNA
ตรวงหาความสมบูณร์ของปอด
การแปรผล
ใช้เวลา 2-4 สัปดาห์จึงจะทราบผล
ดูโครโมโซมว่าครบ32คู่หรือไม่
มีความผิดปกติเกิดขึ้นที่ต่ำแหน่งใดและคู่ที่เท่าใด
ตลอดจนทราบเพศจากโครโมโซม
ภาวะแทรกซ้อน
ถุงน้ำคร่ำรั่ว มีเลือดออกทางช่องคลอด
ติดเชื้อที่ถุงน้ำคร่ำ
ทารกบาดเจ็บจากการถูกเข็มเจาะ
ทารกตายหรือแท้งบุตร
ความพิการทางออร์โธปิดิกส์แต่กำเนิดของทารก
การตรวจสอบความสมบูรณ์ของปอดทารก โดยวิธี L/S Ratio
เพื่อหาค่า L/S Ratioเพื่อดูความสมบูรณ์ของlung
ใน 26 สัปดาห์แรกค่า S>L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L/S = 1:1
อายุครรภฺ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L เพิ่มขึ้น
ค่า S ลดลง ทำให้Ratio เปลี่ยนเป็น 2:1
ค่า L/S Ratioมากกว่า2ปอดทารกสมบูรณ์ดีมาก
ค่า L/S Ratio อยู่ระหว่าง1.5-2.0มีโอกาสเกิดRDS
การตรวจสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกโดย วิธี Shake test
ใช้ทดสอบเพื่อดูการทำงานของlungย่นระยะเวลาหาค่าL/S Ratio
กรณี5หลอด
มีฟองอากาสขึ้น3หลอดปอดเจริญเต็มที่
มีฟองอากาสขึ้น2หลอดปอดยังเจริญไม่เต็มที่
มีฟองอากาศขึ้นหลอดเดียวหรือไม่พบเลยปอดยังไม่เจริญเต็มที่
กรณี2หลอด
หากมีฟองอากาสและคงอยู่15นาทีทั้ง2หลอดปอดเจริญดี
หากพบฟองอากาสแค่หลอดที่1ปอดยังไม่สมบูรณ์
การตรวจหาระดับ estriol
บอกถึงการมีชีวิตของทารกในครรภ์และการทำหน้าที่ของรก
ควรตรวจหาระดับestriolในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
อายุครรภ์เกินกำหนด
มีประวัติทางสูติกรรมไม่ดี
การตรวจหา alpha-fetoprotien (MSAFP)
เพื่อตรวจดูความพิการและความผิดปกติของโครโมโซม
เป็นการตรวจเลือดของมารดา
มารดาที่เคยมีบุตรผิดปกติหรือพิการแต่กำเนิดควรได้รับการตรวจทุกราย
การเก็บเนื้อรกส่งตรวจ ( CVS)
นำเนื้อchorionไปตรวจทางโครโมโซมและดูเอมไซด์ต่าง
ข้อบ่งชี้ในการทำ
มารดาที่ตั้งครรภ์อายุมาก
วินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย
ดูความผิดปกติของฮีโมโกลบินในทารกก่อนคลอด
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การแท้ง
การติดเชื้อ
ทารกพิการแต่กำเนิด
ถุงน้ำคร่ำรั่ว
การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก (FBS)
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ
การวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด
ดูความผิดปกติของระบบเลือด
แม่อายุมากที่มาฝากครรภ์ช้า
ดูความผิดปกติทางโครโมโซมที่สงสัยความผิดปกติ
การประเมินทารกในครรภ์
ความผิดปกติทางโครโมโซม
ทารกบวมน้ำ
ครรภ์แฝดน้ำ
การติดเชื้อในครรภ์
Biophysical Assessment
การตรวจด้วยคลื่นความเสี่ยงสูงUltrasound
ข้อบ่งใช้
วินิจฉัยอายุครรภ์ กำหนดและยืนยืนอายุครรภ์ที่แน่นอน
ติดตามการเจรฺญเติบโตของทารก
ตรวจหาความพิการแต่กำเนิดของทารก
วินิจฉัยสาเหตุที่มีเลือดออกทางช่องคลอด
วินิจฉัยครรภ์แฝด
การตรวจหาเนื้องอกในช่องอุ้งเชิงกราน
หาตำแหน่งผิดปกติและภาพของรก
ใช้ศึกษาหลอดเลือดหลักของทารก
การตรวจBiophysicalProfile(BBP)
เป็นการประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
อาศัยหลักการว่าเมื่อทารกขาดออกซิเจน
Parameters5อย่างที่นำมาประเมินBPP
การเคลื่อนไหวที่แสดงออกถึงการหายใจของทารก
การเคลื่อนไหวของทารก
การเกร็งตัวของทารก
การที่หัวใจตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว
ปริมาณของน้ำคร่ำ
การฉายรังสีเอ็กซเรย์
ทำได้เมื่ออายุครรภ์20สัปดาห์ขึ้นไป
วินิจฉัยภาวะการตายของทารก
Spalding'ssign
Deuel'ssign
ดูfetal skeletal
การนับจำนวนการดิ้นของทารกในครรภ์
DFMR
นับผลรวมการดิ้นของทารกในช่วงเวลา12ชั่วโมง(08.00-20.00)
แนะนำมารดานับการดิ้นของทารกวันละ3ช่วงได้แก่1ชั่วโมงตอนเช้า1ชั่วโมงตอนเที่ยงและ1ชั่วโมงตอนเย็น
หากทารกดิ้นน้อยกว่า10ครั้งใน12ชั่วโมงบ่งบอกถังภาวะอันตราย
TheCardiff
นับตั้งแต่09.00น.จนครบ10ครั้งซึ่งไม่ควรเกิน12ชั่วโมง
เริ่มนับตั้งแต่อายุครรภ์32สัปดาห์
หากทากรดิ้นน้อยกว่า10ครั้งใน12ชั่งโมงเกิดภาวะDFM
Liston
เริ่มนับตั้งแต่อายุครรภ์28สัปดาห์
ดิ้นน้อยกว่า10ครั้งใน12ชั่งโมงเกิดภาวะDFM
Electronic Fetal monitoring
NonStresstest(NST)
ตรวจการตอบสนองของอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์เมื่อมีการเคลื่อนไหว
โดยอัตราการเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่า15ครั้งต่อนาทีและคงอยู่นานมากกว่าหรือเท่ากับ15วินาที
ชนิดการตรวจ
การตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่องDopper
การตรวจนับคลื่นไฟฟ้าที่เกิดจากการเต้นของหัวใจทารก
ContractionStesstest(CST)
เมื่อมดลูกมีการหดรัดตัวจะทำให้ทารกขาดเลือดหรือออกซิเจนชั่วคราว
หากทารกมีปริมาณออกวิเจนสำรองเพียงพอจะทำให้ทารกไม่มีภาวะขาดออกซิเจน
ข้อห้ามของการทำCST
มีภาวะรกเกาะต่ำ
การตั้งครรภ์ที่เกรงว่าจะเกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
เคยผ่าตัดคลอดชนิด ClassicalCesareanSection