Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มบำบัดหัตถการ - Coggle Diagram
กลุ่มบำบัดหัตถการ
การเย็บแผล
-
-
-
-
ขั้นตอนการเย็บ
-
-
การจับเข็ม ถ้าเป็นเข็มเย็บผ้าหรือเข็มตรงใช้มือจับเย็บ แต่ถ้า เป็นเข็มโค้ง ต้องใช้คีมจับเข็มที่ประมาณ 1/3 ค่อนมาทางโคนเข็ม สนด้ายที่จะใช้เย็บเข้าที่รูเข็ม ตัดด้ายให้เหลือความยาวประมาณ 1 ค
การใช้คีมจับเข็ม (Needle Holder) ควรจับให้ด้ามอยู่ในอุ้งมือ นิ้วชี้วางใกล้กับข้อต่อ 5.เวลาตักควรปักเข็มลงไปตรงๆให้ตั้งฉากกับผิวหนัง หรือเนื้อที่จะเย็บ และการปักเข็ม ควรปักให้ห่างจากขอบแผลพอสมควร
หมุนเข็มให้ปลายเข็มเสยขึ้น โดยใช้ข้อมือ อย่าดันไปตรงๆ ให้ปล่อยคีบจากโคนเข็ม มาจับปลายที่โผล่พ้นผิวหนังอีกด้านหนึ่งของแผลขึ้นมา แล้วค่อยๆหมุนเข็มตาม ความโค้งของเข็ม จนกระทั้งโคนเข็มหลุดจากผิวหนัง
ใช้มือซ้ายจับโคนเชือกไว้ มือขวาถือคีมจับเข็มรูดออกไปจนเข็มหลุดจากเชือกแล้ววางคีมมาจับ ปลายเชือกอีกด้านหนึ่ง พร้อมกับดึงขอบแผลให้มาติดกันแล้วผูกเงื
-
ยาชาชนิดต่างๆ ที่นิยมใช้
Local anesthesia
การระงับความรู้สึกหรือชาเฉพาะที่โดยการใช้ยาชา เฉพาะที่ จะใช้เวลาประมาณ 2-3 นาทีในการออกฤทธ ิ์และผู้ใช้จะกลับมารู้สึก ได้ปกติหลังจากเวลาผ่านไปประมาณ 2-3 ชั่วโมงเมื่อยหมดฤทธิ์
-
-
-
หลักทั่วไปในการฉีดยาชา
-
ควรฉีดยาเข้าในผิวหนัง เว้นแต่บริเวณฝ่ามือ ฝ้าเท้า หรือที่หนังศีรษะเพื่อไมใ่ห้ผู้ป่วยเจ็บเวลาด ลื่อนเข็ม โดยปักเข็มเพียงพ้นผิวแล้วฉีดยาเข้าไปเล็กน้อย เข็มอยู่บนผิวหนังจะมีรอยนูนขึ้นทันที แต่ถ้าเข็มเข้าไปชั้นใต้ผิวหนังจะไม่มีรอยนูน
ค่อยๆ ปักเข็มข้าไปในเนื้อใต้ผิวหนัง ดูดดูว่าปลายเข็มเข้าไปในหลอดเลือดหรือไม่ แล้วเดินยา เพียง1-2 cc รอดูประมาณ 1-2 นาที่ ถ้าไม่มีปฏิกิริยาใดให้ฉีดต่อไปจนได้ปรมิาณยาที่ต้องกา
-
-
หากจะฉีดบริเวณกว้างควรแทงเข็มผ่านผิวหนังเพียงครั้งเดียว เมื่อเปลี่ยนต าแหน่งที่ฉีดควรถอนข็มออกมา จนคือบสุด แล้วจึงเปลี่ยนทิศทาของเข็ม โดยไม่ต้องถอนเข็มออกจากผวิหนัง
ไม่ควรแทงเข็มแรงๆ ลงไปบนกระดูก เพราะจะทำให้เจ็บและอาจท าให้ปลายเข็มงอ และขูดบาดเนื้อเยื่อวลา ดึงออกหรือแทงเข้า
ทดสอบการชา โดยใช้ tooth forceps จับที่ผิวหนังต าแหน่งที่ต้องการให้ชา ถ้าผู้ป่วยไม่เจ็บแสดง ว่ามีการชาแล้วสามารถท าหัตถการได้
CPR
หมายถึง
การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นคืนชีพการทำงานของระบบไหลเวียนเลือดที่หยุดทำงานอย่างกระทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติดดยไม่เกิดความพิการทางสมอง
-
-
-
ขั้นตอนการทำ
-
-
-
ตรวจว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่โดยการฟัง ก้มลงให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วย ฟังเสียงลมหายใจตามองดูหน้าอกว่าขยับขึ้นลงหรือไม่
ถ้าผู้ป่วยหายใจดีและไม่มีการเจ็บของกระดูกคอและกระดูกสันหลัง ให้จัดท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ ให้จับแขนด้านไกลตัว ข้ามหน้าอกมาวางมือไว้ที่แก้มอีกข้างหนึ่งแล้วดึงตัวให้พลิกตัว
ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก โดยประกบปากผู้ป่วยเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยช้า ๆ สม่ำเสมอ10-12 ครั้ง ใน 1 นาที อย่าเป่าติดกันโดยไม่รอให้ผู้ป่วยหายใจไม่ออก (ปัจจุบัน เป่าปาก 2 ครั้ง นวดหน้าอก : 30 ครั้ง : จำนวน 5 รอบ )
-
-
-