Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนตร์สั้น “A beautiful mind”, นางสาวนฤมล ดวงรัตน์ เลขที่ 36 ห้อง B …
ภาพยนตร์สั้น “A beautiful mind”
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ถูกครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการเเก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ชอบเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
สถานะทางเศรษฐกิจไม่ดี
อาการเเละอาการเเสดง
หวาดระแวง
คิดว่ามีคนจะมาทำร้าย
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบเก็บตัวอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
มองซ้าย-ขวาตลอดเวลา
เดินหลังค่อม
กระสับกระส่าย เดินไปมา
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
กำมือตลอดเวลา
การรักษา
รักษาด้วยยา
ระยะให้ยาต่อเนื่อง
chlorpromazine 100-300
มก./วัน
ระยะควบคุมอาการ
chlorpromazine 300-500
มก./วัน
ในกรณีที่วุ่นวายมาก
benzodiazepine
ยารับประทาน
ยาฉีด
การรักษาที่ได้รับ
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
ECT 1 course (5 times per week/ 10 weeks)
รักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy)
จิตบำบัดดลุ่มและบุคคล
ประวัติทั่วไป
ประวัติส่วนบุคคล
นายจอห์น ฟอบส์ เเนช จูเนียร์
(Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีน้องสาว 1คน
ภรรยาชื่ออลิเซีย
มีลูกสาว 1 คน
สัมพันธภาพในครอบครัว
เป็นคนชอบเก็บตัว อยู่คนเดียว
มีความคิดหมกมุ่นจนเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
มีความคิดหมกมุ่น มีพฤติกรรมที่เเปลกๆ
ไม่สนใจเรื่องการร่วมเพศ
ปัญหา
มองเห็นภาพหลอน
บกพร่องทางสังคม ไม่มีเพื่อน
พยายามหาคุณค่าให้ตนเองในด้านคณิตศาสตร์
เพื่อเป็นที่ยอมรับ
ทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ
ความผิดปกติทางด้านสมอง
ชอบกังวลเเละหวาดระเเวง
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง
(Paranoid schizophrenia)
ความหมาย
โรควิกลจริตชนิดหนึ่งที่ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่เชื่อหรือยอมรับความจริง รวมทั้งมีอาการประสาทหลอนหรือพฤติกรรมแปลก ๆ หากไม่ได้รับการรักษาจะใช้ชีวิตตามปกติไม่ได้ เป็นกลุ่มโรคจิตเวชที่มีอาการหวาดระแวงรุนแรงมากที่สุด
อาการเเสดง
ชอบแยกตัวอยู่คนเดียว
ไม่ไว้ใจใครง่าย ๆ ระแวดระวังผู้อื่นตลอดเวลา
คิดว่าคนอื่นจะทำร้ายหรือพูดถึงตนเองในทางเสียหาย
มีพฤติกรรมก้าวร้าว ประพฤติตัวไม่เป็นมิตรกับบุคคลรอบข้าง
อ่อนไหวและรับไม่ได้กับการถูกวิจารณ์
หงุดหงิดหรือโกรธง่าย
มองโลกในแง่ร้าย
เข้าสังคมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนยาก
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
ความหมาย
กลุ่มอาการของโรคที่มีความผิดปกติของความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดและการรับรู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง ทำให้มีผลเสียต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
อาการเเสดง 3 ประเภท
ด้านบวก
ประสาทหลอน
หลงผิด
ความผิดปกติทางความคิด
ความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว
ด้านลบ
พูดน้อยลง และอาจพูดด้วยเสียงโทนเดียว
แสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์น้อยลง
เคลื่อนไหวน้อยและไม่ค่อยทำอะไร
ปลีกตัวออกจากสังคม
ไม่มีอารมณ์ร่วม หรืออาจมีการแสดงออกทางอารมณ์แบบแปลกๆ
ไม่มีความสนใจหรือความกระตือรือร้นในการใช้ชีวิต ไม่ค่อยมีความสุข
มีปัญหาในการบรรลุเป้าหมายหรือแผนที่วางไว้
มีปัญหาในการทำกิจวัตรประจำวัน
ด้านการรับรู้
อาจส่งผลต่อกระบวนการคิดและความทรงจำของผู้ป่วย โดยผู้ป่วยอาจมีปัญหาในการจดจ่อ การทำความเข้าใจข้อมูล การตัดสินใจ ความจำ และการจัดการสิ่งต่าง ๆ
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
ความหมาย
การที่ผู้ป่วยมีอาการประหม่า รู้สึกไม่สบายใจ อึดอัด กังวลใจ เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่อาจมีผู้อื่นสังเกตจ้องมองตนเอง
อาการแสดง
มือสั่น
ใจสั่น
เสียงสั่น
เหงื่อออกมาก
เกิดจากความตื่นเต้นและความกังวล
โรคหลงผิด (Delusional disorder)
ความหมาย
โรคหลงผิด เป็นภาวะทางจิตที่ร้ายแรง โดยผู้ป่วยจะมีอาการหลงผิดไปจากความเป็นจริงเป็นเวลามากกว่า 1 เดือน ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักดูเป็นปกติและไม่มีพฤติกรรมที่แปลกประหลาด มีเพียงความเข้าใจผิดในบางเรื่อง
อาการเเสดง
คิดว่าถูกปองร้าย
คิดว่าตนเองมีความสามารถเกินความเป็นจริง
คิดว่าตนเองป่วย
คิดว่าคู่ของตนนอกใจ
คิดว่าผู้อื่นพูดว่าร้ายตนเอง
คิดว่าบุคคลอื่นหลงรักตนเอง
อาการหลอน (Hallucination)
ความหมาย
เป็นอาการทางประสาทที่ทำให้เห็นภาพ ได้ยินเสียง ได้กลิ่น รับรู้รสชาติ หรือเกิดความรู้สึก ทั้งที่ในความเป็นจริงไม่มีสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น
อาการแสดง
เห็นภาพหลอน
หูแว่ว
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น
ประสาทหลอนทางการรับรส
ประสาทหลอนทางการสัมผัส
พ.ร.บ. สุขภาพจิต
มาตรา 21
การบำบัดรักษาจะกระทำได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจำเป็นในการบำบัดรักษา รายละเอียดและประโยชน์ของการบำบัดรักษา และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
มาตรา 22
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ต้องได้รับการบำบัดรักษา
(1) มีภาวะอันตราย
(2) มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
มาตรา 23
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา 22 ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยไม่ชักช้า
สิทธิผู้ป่วย
ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการเเพทย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลการบำบัดรักษา
ได้รับความคุ้มครองจากการวิจัย
ได้รับความคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพ
การบำบัดด้วยการผูกมัดกักบริเวณ
หรือแยกผู้ป่วย
กรณีที่มีความจำเป็น เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยบุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่น แต่ต้องดูเเลอย่างใกล้ชิด
มาตรา 26
ในกรณีฉุกเฉิน เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่าย ปกครองหรือตำรวจได้รับแจ้ง ตามมาตรา 23 หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่สบุคคลนั้นเป็น บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต ซึ่งมีภาวะอันตราย และเป็นอันตรายที่ใกล้จะถึงให้มีอําานาจนําตัวบุคคลนั้นหรือเข้าไปในสถานที่ใดๆ เพื่อนําตัวบุคคลนั้นส่งสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา ซึ่งอยู่ใกล้โดยไม่ชักช้าเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการ
การวินิจฉัย
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง (Paranoid schizophrenia)
การพยาบาล
ประเมินอาการภาวะหวาดระแวง โดยสังเกตจากสีหน้า ท่าทาง คำพูดและพฤติกรรมของผู้ป่วยเพื่อให้ทราบระดับความรุนแรงของภาวะหวาดระแวง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกที่คับข้องใจ ที่อาจเป็นสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมแยกตัว เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายใจและเป็นใช้ข้อมูลที่ได้รับเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้กับผู้ป่วย
กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัดที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้ป่วยร่วมกับผู้อื่น รวมถึงรู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทั้งนี้ในขณะเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัด หากพบว่าผู้ป่วยปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมก็ให้การชื่นชมผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมความมั่นใจให้ผู้ป่วยรู้สึกภาคภูมิใจตัวเองและมั่นใจในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นมากยิ่งขึ้น
ติดตามและประเมินซ้ำเกี่ยวกับพฤติกรรมแยกตัวของผู้ป่วย เช่น ประเมินพฤติกรรมการ เก็บตัว แยกตัว เป็นต้น เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการแยกตัวของผู้ป่วย ทั้งนี้ถ้าพบว่าผู้ป่วยยังคงมีพฤติกรรมแยกตัวไม่ดีขึ้น พิจารณาปรึกษากับหัวหน้าเวร เพื่อหาวิธีการแก้ไขต่อไป
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อใช้รักษาอาการของโรคที่ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงจึงทำให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัว เเละอาจทำร้ายผู้อื่น
นางสาวนฤมล ดวงรัตน์
เลขที่ 36 ห้อง B
รหัสนักศึกษา 613601144