Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือ…
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biochemical Assessment
L/S Ratio
:<3:ถ้า L/S > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มที่โอกาสเกอดภาวะ RDS ต่ำ
GA 34-36 wks. L/S=2:1
GA 26-34 wks. L/S=1:1
26 wks. แรกของการตั้งครรภ์ S>L
Chorionic Villi Sampling: CVS
GA 8-11 wks.
เป็นการตัดเนื้อ chorion มาตรวจ
ข้อบ่งชี้
การตรวจวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย
ตรวจดู Hb.ในทารกก่อนคลอด
มารดาตั้งครรภ์อายุมาก
บทบาทพยาบาล
ไม่จำเป็นต้องทำให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์อยู่ในท่านอนขึ้นขาหยั่ง (lithotomy)
อธิบายให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ วิธีการทำ และการปฏิบัติตนภายหลังทำ
วัดสัญญาณชีพ
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ น้ำยาเพาะเลี้ยงเซลล์
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อนหญิงตั้งครรภ์ขณะแพทย์ทำการตรวจ
เนื้อรกที่เก็บไม่ควรต่ำกว่า 10 – 30 มิลลิกรัม
แนะนำให้งดทำงานหนักอย่างน้อย 1 วัน และงดการมีเพศสัมพันธ์ ภายใน 1- 2 สัปดาห์
Shake test
หลักการ :red_flag:ถ้าในน่ำคร่ำมี surfactant มากพอเมื่อผสม ethanol จะเกิดฟองอากาสขึ้นที่ผิวหน้าต่อระหว่าง อากาสกับของเหลว
การทดสอบ
วิธีที่ 1 ใช้หลอดทดลองขนาด 13 x 100 ml 2 หลอด
ถ้าเกิดฟองอากาสเกิดขึ้นและคงอยู่นาน 15 นาทีทั้ง 2 หลอด :check:ผลบวก โอกาสเกิด RDS น้อย
ถ้าพบฟองอากาสเฉพาะหลอดที่ 1 :check:ผลลบ ปอดทารกยังไม่สมบูรณ์
วิธีที่ 2 ใช้หลอดทดลอง 5 หลอด
มีฟอง 3 หลอดแรก ผลบวก ปอดเจรฺิญเต็มที่
มีฟอง 2 หลอดแรก ผล intermediate ปอดยังเจริญไม่เต็มที่
มีฟองหลอดเดียวหรือไม่พบ ผลลบ ปอดยังเจริญไม่เต็มที่
:red_flag:ถ้าผลลบควรตรวจ L/S ratio ต่อไป
Estriol
.ในปัสสาวะ
วิธีตรวจ
24-hrs. urine
เริ่ม GA 28 wks.ตรวจ 3 ครั้ง/สัปดาห์
ผลตรวจผิดปกติ
ค่า estriol ลดลงฉับพลัน :<3:ผลตรวจครั้งใดครั้งหนึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 50%
ค่า estriol ต่ำอย่างเรื้อรัง :<3: ต่ำกว่า 2-SD ของค่าเฉลี่ยทุกครั้งที่ตรวจ
ค่า estriol ค่อยๆ ลดต่ำลงเรื่อยๆ
ข้อบ่งชี้
สตรีความดันโลหิตสูง
อายุครรภ์เกินกำหนด
สตรีเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ประวัติสูติกรรมไม่ดี
ในเลือด
วิธีการตรวจ :check:เก็บตัวอย่างเลือดดำ 2 ml โดยเจาะเวลาเดียวกันทุกครั้ง
ผลตรวจผิดปกติ
ค่าสูง พบใน เบาหวาน, ครรภ์แฝด
ค่าต่ำ พบในทารกในครรภ์มีต่อมหมวกไตฝ่อ, anencephaly
MSAFP
เป็นการตรวจเลือดมารดาเพื่อประเมินความพิการแต่กำเนิดและความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก
ตรวจ GA 16-18 wks.
มารดาที่เคยมีบุตรผิดปกติหรือพิการแต่กำเนิดควรได้รับการตรวจ
Amniocentesis
:check:เป็นการเจาะดูดน้ำคร่ำซึ่งอยู่รอบตัวทารกผ่านทางหน้าท้องมารดาเข้าสู่โพรงมดูกและถุงน้ำคร่ำ เจาะ GA 16-18 wks.
ข้อบ่งชี้
ตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม เช่น Down's syndrome
ค้นหาโรคที่ถ่ายทอดทางพัธกรรม
การนำน้ำคร่ำมาวิเคราะห์ กรณีสงสัย neural tube defect
ตรวจหาความสมบูรณ์ของปอด
การพยาบาล
ขณะเจาะ :red_flag:สังเกตอาการผิดปกติ
หลังเจาะ
นอนหงาย กดแผลหลังจากแพทย์เอาเข็มออกด้วยก๊อซนานประมาณ 1 นาที และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
พักผ่อนประมาณ 30 นาที –1 ชั่วโมง
ฟัง FHS ทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนหน้าท้อง 1 - 3 วันหลังเจาะ
งดมีเพศสัมพันธ์ภายหลังการเจาะ 7 วัน
ก่อนเจาะ :red_flag:ให้คำปรึกษา, ให้ข้อมูล, เตรียมผู้รับบริการ,จัดท่า,ทำความสะอาดหน้าท้อง
Cordocentesis
เป็นการใช้เครื่องมือใส่ผ่านผนังหน้าท้องมารดาและใช้เข็มเจาะเลือดจากสายสะดือ :red_flag:
ตรวจ GA 18 wks. ขึ้นไป
ข้อบ่งชี้
การวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด
การประเมินทารกในครรภ์
บทบาทพยาบาล
การประเมินภาวะเลือดออกจากสายสะดือจากการตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง และ fetal monitoring 30 – 60 นาที ภายหลังการตรวจ
การฟังเสียงการเต้นของหัวใจทารก
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ตรวจสอบการดิ้นของทารก
ประเมินสภาพทารกในครรภ์โดยใช้เครื่อง Electronic monitoring
Biophysical assessment
Ultrasound
ข้อบ่งใช้
วินิจฉัยอายุครรภ์ การกำหนดและยืนยันอายุครรภ์ที่แน่นอน
ติดตามการเจริญเติบโตของทารก
การตรวจวินิจฉัยความพิการแต่กำเนิดของทารก
การวินิจฉัยครรภ์แฝด
การตรวจวินิจฉัยสาเหตุการมีเลือดออกทางช่องคลอด
การวินิจฉัยเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
การตรวจตำแหน่งความผิดปกติและภาพของรก บอกตำแหน่งที่รกเกาะ
ใช้ศึกษาหลอดเลือดหลักของทารกเพื่อติดตามการเจริญเติบโต
บทบาทพยาบาล
ให้คำปรึกษา
งดน้ำงดอาหารในบางกรณี
ดูแลให้มี bladder full
เตรียมอุปกรณ์และสถานที่ตรวจ
ทำความสะอาดหน้าท้องหลังตรวจ
บันทึกผล
Fetal movement count: FMC
2) The Cardiff “Count-to-ten chart” ของ Pearson
3) วิธีของ Liston
1) Daily Fetal Movement Record (DFMR) ของ Sadovaski, Yaffe, Wood และคณะ
Radiography
Biophysical profile
Parameters 5 อย่างที่นำมาประเมิน BPP
fetal tone: FT
reactive fetal heart rate: FHR
fetal movement: FM
amniotic fluid volum: AFV
fetal breathing movement: FBM
Amniotic fluid volume measurement
วัดแอ่งลึกที่สุด
MVP > 8 cms. :star: Polyhydramnios
MVP 2.1-8 cms. :check: ปกติ
MVP < 2 cms. :star: Oligohydramnios
ดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ
AFIMVP > 25 cms. :star: Polyhydramnios
AFI< 5 cms. :star: Oligohydramnios
Electronic Fetal Monitoring
ชนิดการตรวจ
Non Stress test (NST)
วิธีตรวจด้วย NST
ให้หญิงตั้งครรภ์นอนในท่า Semi-fowler แล้วต่อเครื่องEFM ซึ่งอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ถูกบันทึกด้วยหัวตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Doppler ultrasound transducer) การหดรัดตัวของมดลูกหรือการดิ้นโดยใช้ tocodynamometer ให้หญิงตั้งครรภ์กดปุ่มเครื่องบันทึกทารกดิ้น
การตรวจด้วย NST ใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที ถ้าตรวจนาน 20 นาที ทารกไม่มี acceleration ให้ตรวจต่อจนครบ 40 นาที
การแปลผล
Non-reactive :red_flag:- การเพิ่มขึ้นของ FHR ไม่เป็นไปตามเกณฑ์หรือไม่มีการเพิ่มขึ้นของ FHR เลยในการตรวจนาน 40 นาที
Reactive :red_flag:- อัตราการเต้นของหัวใจทารกเพิ่มจาก baseline เท่ากับหรือมากกว่า 15 ครั้ง/นาที และคงอยู่นานเท่ากับหรือมากกว่า 15 วินาทีขึ้นไปในแต่ละครั้งของการดิ้น จำนวน 2 ครั้งหรือมากกว่า ภายใน 20 นาที
Uninterpretable :red_flag:- คุณภาพการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ ควรทำภายใน 24 ชั่วโมง
Suspicious :red_flag:- การเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้ง หรืออัตราเพิ่มน้อยกว่า 15 ครั้ง/ นาที หรืออยู่สั้นกว่า 15 วินาที เมื่อทารกดิ้น
Contraction stress test (CST)
ข้อห้ามของการทำ CST
เคยผ่าตัดคลอดชนิด Classical cesarean section
รกเกาะต่ำ
การตั้งครรภ์ที่เกรงว่าจะเกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การแปลผล
Positive
Suspicious
Negative
Hyperstimulation
Unsatisfactory