Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการพยาบาลของเพบพราว (Hildegard Peolau) (Interpersonal Relations…
ทฤษฎีการพยาบาลของเพบพราว
(Hildegard Peolau)
(Interpersonal Relations Theory)
มโนทัศน์หลักทางการพยาบาล
Person
ผู้ซึ่งแสดงออกถึงพฤติกรรม คำพูดและท่าทาง บอกถึงความต้องการเฉพาะตัว ความต้องการการช่วยเหลือในการแก้ปัญหา
Environment
กำหนดด้วย สถานการณ์ที่มีพยาบาล และผู้รับบริการและระบบการพยาบาล
Health
เป็นความรู้สึกสบาย เพียงพอ มีสุขอิสระ จากความไม่สุขสบายกายและใจ
Nursing
เป็นสถานการณ์เกิดจาก การที่ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา หรือเสี่ยงต่อการเกิดปัยหา เป้นการใช้กระบวนการลดความไม่สุขสบาย หรือภาวะหมดทางช่วยเหลือ โดยพยาบาลมีปฏิสัมพันธ์กับผู้รับบริการ ลดความไม่สุขสบาย ปรับปรุงพฟติกรรมแลกเปลี่ยนข้อมูล
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การเข้ากันได้ (Rapport)
การสร้างความไว้วางใจ (Trust)
การมองในแง่ดีและการยอมรับโดยปราศจาก
เงื่อนไข
(Unconditional Positive Regard and Acceptance)
การเข้าถึงความรู้สึกหรือเข้าใจตามการรับรู้ของ
ผู้รับบริการ (Empathy)
การติดต่อสื่อสารที่มีจุดประสงค์
(Purposeful communication)
การกำหนดหรือตั้งเป้าหมายชัดเจน
(Goal Formulation)
การมีอารมณ์ขัน (Humor)
มีการถ่ายโอนความรู้สึก (Transference)
แนวคิดหลักของทฤษฎี
Nursing role (บทบาทของพยาบาล)
Teacher
ผู้ให้ข้อมูลที่ผู้ป่วยต้องการและเสนอแนะสิ่งที่ผู้ป่วยต้องเรียนรู้เพิ่มเติม
Leader
ผู้กำหนดทิศทางของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
Counselor
ผู้ให้คำปรึกษาด้วยการรับฟังความคิดเห็น ความรู้สึก และช่วยตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
Surrogate
เป็นผู้ทดแทนบุคคลอื่นให้ผู้ป่วย
Resource person
ให้ข้อมูลเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงปัญหาของตน
Psychodynamic nursing
เป็นสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผุ้รับบริการ โดยพยาบาลมีความเข้าใจถึงพฤติกรรมของตนเอง และของผู้รับบริการ สามารถช่วยผู้รับบริการให้เกิดความเข้าใจถึงปัญหาของเข้าผ่านกระบวนการสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
พยาบาลและผู้รับบริการให้เกียรติซึ่งกันและกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เข้าใจในบทบาทของแต่ละฝ่าย ปัญหาที่เกิดขึ้นและแนวทางการจัดการปัญหา ทำให้ทั้ง 2 เกิดการพัฒนาไปด้วยกัน
การบำบัดรักษา และบทบาทของพยาบาล
พยาบาลใช้สัมพันธภาพทำให้ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจตนเอง
ผู้รับบริการยอมรับตนเองและนำศักยภาพออกมาใช้ในการดูแลตนเอง
ส่งเสริมให้พยาบาลและผู้รับบริการตระหนักถึงความสามารถและคุณค่าของตนเอง ซึงจะทำให้เกิดความร่วมมือ และทัศนคติที่ดีต่อบริการทางสุขภาพ
ระยะของสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการ
Orientation (ระยะเริ่มต้น)
Identification (ระยะระบุปัญหาและความต้องการบริการ)
Exploitation (ระยะการแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือ)
Resolution (ระยะปัญหาคลี่คลายและยุติสัมพันธภาพ)
ผู้ป่วยและพยาบาลเกิดการพัฒนาและเติบโตขึ้น
ปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยได้รับการตอบสนองผ่าน Collaborative effortsของผู้ป่วยและพยาบาล
ผู้ป่วยและพยาบาลยุติสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ผู้ป่วยเรียนรู้ถึงบริการที่มีอยู่สําหรับเขารวมถึงช่องทางต่างๆที่นําไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ผู้ป่วยใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือและบริการที่มี
พยาบาลช่วยผู้ป่วยให้สามารถพึ่งตนเองในการปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายและค่อยๆลดการใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือลง
ผู้ป่วยเข้าใจปัญหา ความช่วยเหลือ และบริการที่ต้องการโดยผู้ป่วยมีการตอบสนองต่อผู้ที่สามารถช่วยเขาแก้ปัญหา
ผู้ป่วย ญาติ และพยาบาลร่วมกันค้นหาปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตน
ผู้ป่วย ญาติ และพยาบาลตัดสินใจร่วมกันเกี่ยวกับความช่วยเหลือและบริการที่ต้องการจากทีมสุขภาพ