Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง - Coggle Diagram
ความผิดปกติในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ความผิดปกติของฮอร์โมนและประจําเดือน
1.Premenstrual syndrome (PMS)
สาเหตุ
2.เป็นการเกิดปฏกิริยาระหว่างฮอร์โมน estrogen, progesterone และ
aldersterone
มีภาวะฮอร์โมน prolactin สูง, hypothyroidism
4.การขาดวิตามิน B6 แมกนีเซียม
ภาวะไม่สมดุลของฮอร์โมน estrogen และ progesterone
พยาธิสรีรวิทยา
การมีระดับฮอร์โมน prolactin, aldersterone ที่
สูงขึ้น ในช่วงระหว่าง luteal phase ของรอบประจําเดือนทําให้เกิดอาการ
aldersterone ที่เพิ่มขึ้นทําให้มีการคั่งของเกลือและน้ํา ส่งผลให้เกิดอาการบวม การหลั่ง
neurotransmitters
อาการ
Physical symptoms
Sleep disturbance
Backache, peripheral edema
Vertigo, nausea
Emotional symptoms
Irritability, mood change
Emotional irritability
Hostility, depressing, anxiety
2 Dysmenorrhea
ปัจจัยเสี่ยง
Primary เป็นอาการปวดประจําเดือนที่ไม่เกี่ยวข้องกับพยาธิสภาพของโรค พบใน
คนอ้วน ไม่เคยมีบุตร อายุ < 20 ปี
Secondary เป็นอาการปวดประจําเดือนที่เกิดจากความผิดปกติของมดลูก เช่น
endometriosis, ovarian tumor, PID
พยาธิสรีรวิทยา
การหลั่งฮอร์โมน prostaglandins มากกว่าปกติกระตุ้นให้
กล้ามเนื้อมดลูกหดตัว
สาเหตุให้เกิดมีการบีบเกร็งตัวของกล้ามเนื้อมดลูกตั้งแต่ระดับเล็กน้อยถึง
ระดับรุนแรงได
นขณะที่กล้ามเนื้อหดตัวเลือดที่มาเลี้ยงมดลูกก็จะลดลงด้วย ทําให้เกิดอาการ
ปวดจากการขาดเลือดมาเลี้ยงของกล้ามเนื้อ
อาการแสดง
อาการปวดท้องจะเริ่มพร้อมกับการมีประจําเดือนและปวดนานถึง12–48
ชม
อาการปวดช่องท้องด้านล่างอาจราวไปหลังและต้นขา
คลื่นไส้อาเจียน
3 Amenorrhea
ภาวะขาดประจําเดือน 2 ชนิด
Primary amenorrhea หมายถึง สตรีที่ไม่เคยมีประจําเดือนเมื่อถึงอายุ 14 ปี
โดยไม่มีพัฒนาการลักษณะทางเพศปรากฏและเมื่อถึงอายุ16 ปียังไม่มีประจําเดือ
Secondary amennorrhea หมายถึง สตรีที่เคยมีประจําเดือนมาแล้ว และ
ประจําเดือนขาดหายไปเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 – 6 เดือน
สาเหตุ
ไม่มีการตกไข่เนื่องจากมีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมน estrogen,
gonadotropins, lutinizing, FSH
รังไข่ไม่มีการตอบสนองต่อฮอร์โมน gonadotropins
3.ภาวะทุพโภชนาการและการออกกําลังกายอย่างหนัก จะกดการหลั่งฮอร์โมน
จาก hypothalamus
พยาธิสรีรวิทยา
กลไกการเกิดขึ้นอยู่กับสาเหตุ สตรีที่มีระดับฮอร์โมน estrogen
ปกติแต่มีภาวะพร่อง progesterone จะไม่มีการตกไข่และเป็นหมัน ในกลุ่มคนที่เป็น primary
amenorrhea จะมีความผิดปกติของ hypothalamic–pituitary–ovarian axis
อาการและอาการแสดง
ไม่มีประจําเดือน
Vasomotor flushes
Vaginal atrophy
Hirsutism
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Blood and urine studies พบว่าระดับฮอร์โมน pituitary gonadotropin
อาจสูงหรือต่ํา ระดับฮอร์โมน thyroid ผิดปกติ
X-ray, CT scan, MRI, laparoscopy, biopsy เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคของ
มะเร็งรังไข่ ต่อมหมวกไตและต่อม pituitary
.4 Dysfunctional uterine bleeding
การที่เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก ความผิดปกตินี้รวมถึงเลือดออกผิดปกติในช่วงจังหวะระหว่างการมีประจําเดือน
สาเหตุ
Polycystic ovarian syndrome
Obesity – เอนไซม์ในเนื้อเยื่อไขมันเปลี่ยน androgen androstenedione
เป็น estrogen
กลไกการทํางานของ Hypothalamic-pituitary-ovarian ไม่สมบูรณ
Anovulation พบในช่วงอายุประมาณ 30 ปีกว่า หรืออายุ40
พยาธิสรีรภาพ
เลือดออกผิดปกติเป็นผลจากการที่เยื่อบุโพรงมดลูกตอบสนองต่อ
ความไม่สมดุลของการหลั่งฮอร์โมนและภาวะไม่มีไข่ตก
อาการ
Metrorrhagia มีเลือดออกในชวงระหว่างรอบประจําเดือน
Chronic polymenorrhea ประจําเดือนมาถี่ ประมาณ 18 วันต่อหนึ่งรอบ
Oligomenorrhea ประจําเดือนมาห่าง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจระดับ progesterone ลดลง
CBC จะพบภาวะเลือดจางถ้าประจําเดือนมามากและนานวัน
ตรวจพบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (prolong bleeding time) ในผู้ป่วย
โรคเลือด
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์
ความผิดปกติในอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
สวนท่อปัสสาวะ: Urethritis, Urethra stricture
Urethritis
การอักเสบของท่อปัสสาวะ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
เนื่องจากท่อปัสสาวะของเพศชายยาวกวาเพศหญิงและมี prostatic fluid
สาเหตุ
Ascending infection
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ ต่อมลูกหมากอักเสบ
พยาธิสรีรวิทยา
ื้โรคจะเข้าไปตามท่อทางเดินปัสสาวะ ทําให้ท่อปัสสาวะอักเสบและ
การอักเสบนี้จะลุกลามไปจนถึงกระเพาะปัสสาวะ
อาการ
Urgency, frequency, dysuria
กระเพาะปัสสาวะบีบเกร็ง
ปวดแสบปวดร้อนขณะถ่ายปัสสาวะหรือคันในท่อปัสสาวะ
การตรวจ
Urinalysis (U/A) เพื่อตรวจหา หนอง
Clean–catch midstream urine
Urethra stricture
สาเหต
อาจเป็นแต่กําเนิด
จากการได้รับบาดเจ็บที่ท่อทางเดินปัสสาวะและขาดการรักษาที่ดีพอ
การอักเสบติดเชื้ออย่างแรง
การใส่สายสวนปัสสาวะนานจนท่อปัสสาวะเกิดเนื้อตาย
พยาธิสรีรวิทยา
เซลล์ของท่อปัสสาวะที่ได้รับบาดเจ็บจนเกิดการตีบแคบ ทําให้ท่อ
ปัสสาวะตีบมีการคั่งค้างของปัสสาวะ
อาการ
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด ปวดเล็กน้อยเวลาถ่ายปัสสาวะ
อาการเฉียบพลันจะมีการคั่งค่างของปัสสาวะจากการปัสสาวะไม่ออก
การตรวจ
Ultrasound
Voiding cystourethrogram
ส่วนองคชาติ: Phimosis, Balanitis, Penile cancer
Phimosis
ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติมีรูเปิดแคบ หรือรัดบริเวณใต้ต่อ
ส่วนหัวขององคชาติไม่สามารถรูดขึ้นมาหุ้มปลายองคชาติได้
สาเหตุอาจเป็นตั้งแต่
กําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลังการอักเสบบวม ส่วนใหญ่เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ
อาการอักเสบ บวม ปวดบริเวณ
หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ หรือไม่สามารถดึงหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศขึ้นได
รักษาโดยการขลิบหนังหุ้ม
ปลายองคชาติออกเล็กน้อยเพื่อเปิดส่วนหัวขององคชาติให้ปัสสาวะได้สะดวก
Balanitis and Posthitis
การอักเสบของ glans penis and mucous
membrane บริเวณรอบ ๆ องคชาติ มักเกิดร่วมกับหนังหุ้มปลายอักเสบ
สาเหตุเกิดจากการระคาย
เคืองเสียดสีจนเกิดรอยถลอกและมีการติดเชื้อซ้ํา
อาการผื่นแดงบริเวณปลายองคชาติ มีหนองไหลมีกลิ่นเหม็น
การรักษาควรแนะนําให้
ทําความสะอาดบ่อย ๆ และซับให้แห้งให้ยาปฏิชีวนะถ้ามีการอักเสบมาก
Penile cancer or Cancer of the penis
พบมากในผู้ชาย
อายุ45- 60 ปีขึ้นไป
สาเหตุเกิดจากการหมักหมมของสิ่งสกปรกบริเวณใต้หนังหุ้มปลาย ต่อมา
เปลี่ยนแปลงกลายเป็นเซลล์มะเร็ง
ปัจจัยเสี่ยงคือ มีประวัติเคยติดเชื้อ HPV การสูบบุหรี่
การป้องกัน
ทําได้โดยรูดหนังองคชาติ ให้เปิดและล้างทําความสะอาดอย่างสม่ําเสมอทุกครั้งที่อาบน้ํา
การรักษาขึ้นอยู่
กับระยะลุกลามของโรค จะต้องตัดองคชาติออกบางส่วน
Priapism
ภาวะอวัยวะเพศชายไม่อ่อนตัว
สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงอาจ
เกิดจากโรคเลือดบางชนิด
การรักษาระยะแรกคือให้ยาแก้ปวด ยาชา และ
สารน้ํา
ถ้าพบอาการในผููป่วยที่เป็น Sickle cell disease ควรให้ออกซิเจนด้วย
การรักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้นให้รักษาโดยการผ่าตัด แต่ไม่สามารถกลับคืนได้คงเดิม
Peyronie’ disease
ภาวะที่มีfibrous plaques มาเกาะที่ปลายหนังหุ้ม
องคชาต
พบได้ในอายุวัยกลางคนขึ้นไป
รักษาโดยการผ่าตัด
ส่วนอัณฑะ: Orchitis, Testicular torsion
Orchitis
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อจากต่อมลูกหมาก กระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะย่อนเข่า
ไปในท่อนําอสุจิจนถึงอัณฑะ
อาการแสดง
ปวดถุงอัณฑะและขาหนีบข้างเดียวตามตําแหน่งของ Vas deferens จะปวด
มากขึ้นเวลาเดิน
อาการค่อยเป็นค่อยไป ต่อมาอัณฑะบวม ปวด กดเจ็บมาก มีไข้สูง หนาวสั่น
หากทิ้งไว้จะเกิดปัสสาวะเป็นหนอง
Testicular torsion
สาเหตุ
ความผิดปกติของถุงหุ้มลูกอัณฑะและตําแหน่งถุงอัณฑะ
การยึดติดกันของ spermatic fascia
การออกกําลังกายอย่างหนักทําให้cremaster muscle เกิดแรงดึงรั้งมากจน
ท่ออสุจิบิดตัว
พยาธิสรีรวิทยา
นภาวะปกติ Tunica vaginalis จะห่อหุ้มอัณฑะและยึดติดกับท่อนําอสุจิ
การหดตัวตามปกติของ cremaster muscleจะทําให้ฃ้อัณฑะข้างซ้ายหดตัวในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
อาการ
ปวดร้าวลงอัณฑะข้างที่บาดเจ็บหรือขาหนีบข้างนั้น
อัณฑะบวม
ปวดท้อง
Lightheadedness
การตรวจ
Doppler ultrasonography
ส่วนต่อมลูกหมาก: Benign prostate hypertrophy (BPH), Prostatitis, Prostate
cancer
Benign prostate hypertrophy (BPH)
ภาวะต่อมลูกหมากโต โดย
ไม่ใช่มะเร็ง
สาเหตุ
อายุที่เพิ่มมากขึ้นทําให้มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
Arteriosclerosis
การอักเสบ
พยาธิสรีรวิทยา
โทรเจน และฮอร์โมน แอน โด รเจน และมีระดับ ฮอร์โม น
dihydrotestosterone สูง
ความไม่สมดุลระหว่างฮอร์โมนนี้ทําให้เนื้อเยื่อหนาตัวและเพิ่มจํานวนขึ้น
เริ่มต้นจากบริเวณรอบท่อปัสสาวะ
อาการ
ระยะแรก
รู้สึกว่าถ่ายปัสสาวะไม่หมด
ปัสสาวะลําบาก
ระยะอุดกั้น
อาจมีปัสสาวะเป็นเลือด
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
การตรวจ
Cystoscopy
Urinalysis
Blood urea nitrogen
Prostatitis
ภาวะต่อมลูกหมากอักเสบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง เกิดจาก
การติดเชื้อแบคทีเรีย Fungi, mycoplasma
อาการแสดง
ปวดบริเวณฝีเย็บ
ปัสสาวะบ่อย
ปวดขณะหรือภายหลังการหลั่งน้ําอสุจิ
ต่อมลูกหมากอักเสบเฉียบพลัน
จะมีอาการไข้หนาวสั่น ปวดบริเวณฝีเย็บ ทวารหนัก
และหลัง ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ ถ่ายปัสสาวะบ่อย
ต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง
จะมีอาการปวดเวลาถ่ายปัสสาวะเล็กน้อย ถ่ายปัสสาวะบ่อย
และมี Discharge ไหลออกจากท่อปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมลูกหมากบวมโต
Epididymitis
Bacteremia
Pyelonephritis
การตรวจ
ตรวจทางช่องทวารหนักกดที่ต่อมลูกหมากจะปวดมาก
Prostate cancer
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์เชื้อชาติการสัมผัสมลภาวะ
การติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์
การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
พยาธิสรีรวิทยา
เซลล์มะเร็งที่พบส่วนใหญ่เป็นชนิด adenocarcinoma มักเริ่มต้นจาก
ด้านหลังต่อมลูกหมาก
อาการ
ระยะแรก ไม่มีอาการแต่อาจคลําพบก้อน ระยะต่อมามีอาการ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ปัสสาวะเป็นเลือด
อัณฑะหรือขาบวม
การตรวจ
Serum prostate - specific antigen (PSA) test
Transrectal prostatic ultrasonography
Bones scan, CT, MRI
ส่วนเต้านม: Gynecomastia, Breast cancer
Gynecomastia
เป็นภาวะเต้านมโตผิดปกติในเพศชาย พบได้ทั้งในวัย
เจริญพันธ์และวัยสูงอาย
สาเหตุเนื่องมาจากกลไกการทํางานของฮอร์โมนผิดปกติแต่ไม่ทราบกลไกที่
แน่ชัด
อาการ
เต้านมโตกว่าปกติอาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้
อาการอาจเป็นชั่วคราวแล้วยุบไปเองได้ถ้าสิ่งกระตุ้นลดลง
การตรวจ
Testicular ultrasound
Breast cancer
มะเร็งเต้านมเพศชายพบน้อยมาก มักพบในผู้ชายอายุ
ประมาณ 60 ป
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องการเกิด ได้แก่
กรรมพันธุ์ความผิดปกติของยีน
โรคตับ การสัมผัสรังสี การสัมผัส
ความร้อนนาน ๆ
เนื้องอกและมะเร็ง
Benign tumors
Vulva cysts
มักเป็นการ
อุดตันของต่อมอาจเกิดข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ต่อมนี้ตําแหน่งอยู่ส่วนล่างของ vulva
อาการ
Pain redness
Perineal mass
ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ
มีการอักเสบติดเชื้อหรือเกิดหนอง
Vulva dystrophy
ถูกตัดรังไข่ออกทั้งสองข้างซึ่งพบว่าเกิดจากการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนทําให้น้ําหล่อลื่นในช่อง
คลอดลดลง ผนังช่องคลอดแห้งและมีบางตัวของผนังช่องคลอด pH ในช่องคลอดเปลี่ยนไป
พยาธิสรีรวิทยา
vulva ฝ่อเล็ก ปาก
ช่องคลอดแคบมากผนังช่องคลอดสีซีด ผิวเรียบและฉีกขาดง่าย
อาการ
แสบคัน ปวดแสบปวดร้อนบริเวณช้องคลอด
มีตกขาวจาก ๆ บางครั้งคล้ายหนอง
Ovarian cyst
Follicle cyst
เป็นถุงน้ําที่รังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อไข่เจริญเต็มที่แต่ไข่ยังไม่ตก เกิด
จากการผิดปกติในการดูดซึมกลับของของเหลวในฟองไข
Corpus luteum cyst
เป็นถุงน้ําที่รังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อไข่ตกไปแล้ว หลังการ
ตกไข่แล้ว granulose cells จะเปลี่ยนสภาพ (luteinized) กลายเป็น corpus luteum
ลักษณะที่ตรวจพบจากเครื่องอัลตรา
ซาวนด์จะเนถุงที่มีผนังบางใสๆ ภายในเป็นน้ําใส
Theca luteum cyst
มักเป็นที่รังไข่ทั้ง 2ข้าง มักมีขนาดเล็ก พบได้ไม่บ่อยนัก
ถุงน้ําชนิดนี้สัมพันธ์กับภาวะ การตั้งครรภ์แฝด
Polycystic Ovarian Syndrome (PCOS)
เป็นถุงน้ําเล็ก ๆ จํานวนมากที่
รังไข่ เกิดจากการมีระดับ LH, Estrogen และ Androgen สูงกว่าปกติแต่ระดับ FSH ต่ํา
ทําให้มีภาวะ
ประจําเดือนมามากกว่าปกติ และมีภาวะ Hirsutism คืออ้วน ขนดก
Dermoid cyst
นื้องอกชนิดนี้มีทั้งส่วนที่เป็นถุงน้ํา และส่วนที่เป็นไขมัน
อาจมีเส้นผม มีผิวหนัง ฟัน กระดูก
Cystadenoma cyst
ถุงน้ําชนิดนี้อาจตรวจพบโดยบังเอิญหรือมีอาการ
ผิดปกติ เช่น ปวดท้อง อืดท้อง อาหารไม่ย่อย เสียดท้อง ตกขาว
อาการและอาการแสดง
ถ้าถุงน้ํามีขนาดใหญ่หรือมีจํานวนมากจะมีอาการ ไม่สุขสบายในช่องท้อง
แน่นอึดอัดใน
ท้อง ปวดท้องน้อย Dyspareunia หรือเจ็บปวดขณะมีประจําเดือน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับ LH, FSH, serum testosterone สูงกว่าปกติ
ผลการตรวจ Glucose tolerance test เป็น Type 2 DM
Fibroid (Leiomyoma, Myoma)
สาเหตุ
มีส่วนสัมพันธ์กับการได้รับยากลุ่มส
เตียรอยด์ฮอร์โมน estrogen, progesterone
พยาธิสรีรวิทยา
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก ส่วนใหญ่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ
และ fibrous connective tissue
ตามตําแหน่งที่ก้อนเนื้องอกเกิดคือผนังมดลูก
อาการและอาการแสดง
คลําก่อนได้บริเวณท้องน้อย ถ้าผู้ป่วยคลําก้อนได้เองมักเป็นก้อนที่มีขนาด
ใหญ
มีภาวะมีบุตรยาก
หายใจลําบาก (dyspnea) พบได้แต่ไม่บ่อยนัก
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจเลือด พบภาวะเลือดจาง (anemia) จากการมีเลือดออกผิดปกติ
Ultrasound, MRI พบก้อนเนื้องอก
Endometriosis
สาเหต
จเกิดจากภาวะเลือดประจําเดือนไหลย้อนกลับ
แทรกเข้าไปในเนื้อเยื่อมดลูกเข้าสู่รังไข่และอุ้งเชิงกราน
พยาธิสรีรภาพ
เยื่อบุโพรงมดลูกที่อยู่ผิดที่ดังกล่าว ถูกกระตุ้นและเจริญได้เหมือน
เยื่อบุโพรงมดลูกปกติ ดังนั้นจึงมีการตอบสนองต่อฮอร์โมน estrogen และ progesterone
ประเดือนเหมือนเยื่อบุโพรงมดลูกที่อยู่ในมดลูกซึ่งก็จะทําให้มีเลือดออกในตําแหน่งที่เยื่อบุโพรงมดลูก
ไปเกาะอยู่ และทําให้มีการอักเสบของอวัยวะรอบๆ
อาการและอาการแสดง
Classic symptoms
เจ็บในช่องคลอดลึก ๆ ขณะมีเพศสัมพันธ
เจ็บบริเวณหัวเหน่าในช่วงที่มีประจําเดือน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Laparoscopy or laparotomy
Pelvic ultrasound
Adenomyosis
อาการและอาการแสดง
Hypermenorrhea
Dysmenorrhea
Polymenorrhea
มีภาวะมีบุตรยาก
ภาวะที่มีเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญในชั้น
กล้ามเนื้อมดลูก ประกอบด้วย glands and stromaกระจายอยู่ในระหว่างชั้นกล้ามเนื้อของมดลูก
adenomyosis
Malignant condition
Cancer of cervix หรือ Cervical cancer (มะเร็งปากมดลูก)
การเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติของเซลล์บริเวณปากมดลูก มีการแบ่งตัวของเซลล์มากจนไม่
สามารถควบคุมได
สาเหตุสัมพันธ์กับการติดเชื้อ HPV (Human papilloma virus) มากที่สุด
ปัจจัยเสี่ยง
อายุและพฤติกรรมทางเพศ
การมีบุตร
เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม
อาการและอาการแสดง
ระยะกอนลุกลาม (Preinvasive) มักไม่มีอาการผิดปกต
ระยะลุกลาม
Persistent vaginal discharge
Abnormal vaginal bleeding
อาการของมะเร็งระยะสุดท้าย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Papanicolaou (Pap) test
Colposcopy
Cancer of the uterus, Endometrial carcinoma, uterine
cancer
ปัจจัยเสี่ยง
Anovulation, abnormal uterine bleeding
Polycystic ovarian syndrome
ปัจจัยเกี่ยวกับเอสโตรเจน
พยาธิสรีรภาพ เซลล์มะเร็งมักจะเริ่มต้นตรงบริเวณ fundus และลุกลามไปยังชั้น
กล้ามเนื้อมดลูก และอวัยวะของระบบสืบพันธ์ ตรงท่อรังไข่ รังไข
อาการและอาการแสดง
Uterine enlargement
ตกเลือดหรือมีเลือดออกผิดปกติ
Vaginal dischargeอาจพบว่ามีน้ําใส ๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Biopsy การตรวจชิ้นเนื้อ
Dilation and curette
Cancer of the ovary
ปัจจัยเสี่ยง
เป็นหมันหรือมีบุตรยาก
ถ้าเป็นมะเร็งเต้านมจะมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งรังไข่
อาการ
ไม่สุขสบายในช่องท้อง
คลื่นไส้อาเจียน มีลมในช่องท้อง
ปัสสาวะบ่อย ปวดท้องน้อย
Late stage
Advanced ovarian cancer
การตรวจ
Ultrasound, CT, MRI
Aspiration ascitic fluid
Carcinoma of Vulva
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ
Leukoplakia
อาการ
คลําพบก้อนหรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการคัน เลือดออกบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
Breast cancer
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติคนในครอบครัว
Positive test for genetic mutation
ไม่เคยมีบุตร หรือมีบุตรหลังอายุ 30 ปี
พยาธิสรีรวิทยา
เซลล์มะเร็งเต้านมมักเกิดข้างซ้ายมากกว่าข่างขวาบริเวณ outer
upper quadrant
อาการ
มีก้อนไม่เจ็บ
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ผิวหนังอุ่นหรือร้อน
การแบ่งระยะ
ระยะที่ 1 ก้อนมะเร็งเต้านมมีขนาดเล็กกว่า 2 เซนติเมตร ที่ไม่มีการ
แพร่กระจาย
ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็กกว่า 5 เซนติเมตร มีการแพร่กระจายไปยัง
ต่อมน้ําเหลืองที่รักแร้
ระยะที่ 3 ก้อนมะเร็งมีขนาดใด ๆ ก็ได้ มีการลุกลามมายังผิวหนังหรือ
กล้ามเนื้อ Pectoral
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัต
การตรวจเต้านมและต่อมน้ําเหลือง
การดูตรวจได้ทั้งทานั่งและยืน
การคลํา ทําได้ทั้งท่านั่งและนอน
การตรวจ
Mammography
Biopsy
การตรวจหา Tumor marker
การอักเสบและการติดเชื้อ
Leukorrhea
2 ชนิด
1) ระดูขาวปกติ
2) ระดูขาวผิดปกติ
Vulvovaginal infection
การอักเสบติดเชื้อของช่องคลอดและอวัยวะ
สืบพันธุ์ภายนอก
1 Vulvovaginal Candidiasis
ติดเชื้อราในช่องคลอด
พบได้ในช่องปาก คอ ลําไส้ใหญ่และช่องคลอด
และไม่ทําให้เกิดโรคหรืออาการผิดปกต
อาการและอาการแสดง
Vaginal discharge ลักษณะคล้าย cottage cheese, curd like
Pruritus ระคายเคืองมาก ผิวหนังบริเวณ labia และ vulva บวม มีลักษณะ
คล้ายผื่นแดง
ปวดแสบปวดร้อนหลังถ่ายปัสสาวะ อาการมากขึ้นก่อนมีประจําเดือน
2 Bacterial vaginosis
เป็นภาวะที่แบคทีเรียในช่องคลอดเจริญเติบโตมาก
ผิดปกติ ทําให้มี discharge สีเหลืองเทา
3 Trichomoniasis
อาการ
ไม่แสดงอาการ พบมากถึง 70 % ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย
ในเพศหญิงที่มีการติดเชื้อเฉียบพลัน จะมีตกขาวมาก discharge จะมี
ลักษณะเป็นฟองสีขาว
มีอาการคัน และปวดแสบปวดร่อนช่องคลอดมาก
ช่องคลอดบวมแดง ถ้าตรวจภายในจะพบจุดสีแดงรอบๆ ปากมดลูก
4 Atrophic vaginitis
เป็นภาวะช่องคลอดอักเสบวัยชรา เกิดจากการขาด
ฮอร์โมนเอสโตรเจน
พบในสตรีวัยหลังหมดประจําเดือนหรือสตรีที่ตัดรังไขออกทั้งสองข้าง ทําให้ผนัง
ช่องคลอดบางเรียบ
5 Vulvitis
อาการ
Pruritis
Vulva tissue – red and swollen, abrasions
Burning sensation
6 Bartholinitis
เกิดอาการอักเสบ บวม
แดงบริเวณต่อม บางครั้งอาจมีหนองซึ่งแตกออกมาได้เองหรือต้องได้รับการผ่าตัดกรีดหนองออก
การประคบร้อนหรือ Sitz bath จะชวยระบายหนองได้ดีขึ้นภายหลัง
Pelvic inflammatory disease (PID)
การอักเสบติดเชื้อของอวัยวะ
สืบพันธ์ภายในอุ้งเชิงกราน ตั้งแต่มดลูก ปากมดลูก และรังไข
ปัจจัยเสี่ยง
Conization or cauterization
การใส่ห่วงคุมกําเนิด
การแท้งบุตร การผ่าตัดอุ้งเชิงกราน การติดเชื้อขณะตั้งครรภ
อาการแสดง
ระยะแรกจะไม่แสดงอาการ แต่ต่อมาจะเริ่มมีอาการปวดท้องน้อย
1) systemic symptom เช่น ไข้ต่ํา ๆ ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร คลื่นไส้
ปวดศีรษะ อาเจียน
2) Heavy, purulent and odorous vaginal discharge
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Culture and sensitivity, gram stain ตรวจพบเชื้อสาเหตุ
Culdocentesis ตรวจพบเชื้อสาเหตุ