Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพ มารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวธนวรรณ นิมานบูรณวิจิตร…
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
มารดาและทารกหลังคลอด
การพัฒนาสัมพันธาภาพในระยะหลังคลอด
หลังคลอดทันทีมารดาจะแสดงความรักความผูกพันกับลูกตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดเป็นช่วงเวลาที่มารดามี ความรู้สึกไวที่สุดและทารกมีความตื่่นตัวจึงเป็นช่วงเวลาสำคัญที่ก่อให้เกิดความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาทารก
กระบวนการพัฒนาสัมพันธาภาพระหว่างมารดากับทารก
มีพัฒนาการตามลำดับ 9 ขั้นตอน
ระยะตั้งครรภ์
การยืนยันการตั้งครรภ์
การยอมรับการตั้งครรภ์
การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
การสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
การมองดูทารก
การสัมผัสทารก
การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
การวางแผนการตั้งครรภ์
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (entrainment)
การให้ความอบอุุ่น (body warmth หรือ heat)
การใช้เสียง (voice)
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte)
การประสานสายตา (eye-to-eye contact)
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ(bacterianasal flora)
การสัมผัส (touch, tactile sense)
การรับกลิ่น (odor)
จังหวะชีวภาพ (biorhythmcity)
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธะภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะคลอด
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ให้ข้อมูลเป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
*ส่งเสริมให้การคลอด ผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะตั้งครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
การปรับบทบาทการเป็น บิดา มารดา
ยอมรับความเป็นบุคคล ของทารกในครรภ์
การกระตุ้นพัฒนาการ ทารกในครรภ์
ระยะหลังคลอด
*ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ใน ระยะ sensitive period
*Rooming inโดยเร็วที่สุด
ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
ตอบสนองความต้องการของ มารดา
กระตุ้นให้มีีปฏิสัมพันธกับทารก
เป็นตัวแบบในการสร้าง สัมพันธภาพกับทารกให้มารดา ทารก บิดาได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
นางสาวธนวรรณ นิมานบูรณวิจิตร เลขที่ 31 ห้อง A