Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077…
9.การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุระหว่าง 10-19 ปี โดย ถืออายุ ณ เวลาที่คลอดบุตร ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น
adolescents คือช่วงอายุ 15-19 ปี
younger adolescents คือช่วงอายุ 10-14 ปี
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
1. ปัจจัยทางด้านสังคมประชากร
การมีสังคมกับเพื่อนร่วมงานและเพื่อนต่างเพศเร็วขึ้นทำให้มีเพศสัมพันธ์หรือมีการสมรสในขณะที่อายุยังน้อย และนำไปสู่การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น
2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและเป็นประจำเดือนเร็วขึ้น
3. ทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลงไป
การเรียนรู้ วัฒนธรรมตะวันตกผ่านสื่อต่างๆ ของวัยรุ่นในปัจจุบัน มีส่วนทำให้ค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลงไป
4. การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
5. ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
ความสัมพันธ์ภายในครอบครัววัยรุ่นที่ขาดความมั่นใจใน ความเป็นผู้หญิงของตน
ผลกระทบ
1. ผลกระทบทางด้านร่างกาย
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นทำใหเ้กิดภาวะแทรกซ้อนได้ มากกว่าการตั้งครรภ์ในหญิงที่มีอายุมากกว่า 20 ปี
2. ผลกระทบทางด้านจิตใจ
เมื่อมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น จะมีการเปลี่ยนแปลงด้าน ฮอร์โมนทำให้มีการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และจิตใจ หญิงตั้งครรภ์ยังวัยรุ่นมักจะมีอารมณแ์ปรปรวนง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นการตั้งครรภ์ท์ที่ยังไม่พร้อม
3. ผลกระทบด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม
การตั้งครรภ์ในขณะวัยรุ่นยังอยู่ ในวัยเรียน อาจทำใหเ้ป็นอุปสรรคต่อการเรียน บางคนอาจหยุดการศึกษาไปเลย
4. ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อบุตร
หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่ยังไม่พร้อมใน การตั้งครรภ์มักมีแนวโน้มที่จะแก้ปัญหาโดยการทำแท้ง หรือไปรับการฝากครรภ์ ล่าช้าหรือไม่ได้รับการฝากครรภ์เลย
แนวทางการดูแลหรือการให้การพยาบาลมารดาวัยรุ่น
การประเมินพันธกิจของการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
การประเมินภาวะสุขภาพ จากการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินความรู้พื้นฐาน ด้านความรู้และทัศนคติ
การประเมินระดับสนับสนุนทางสังคมของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก (elderly pregnancy)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ในหญิงอายุมาก
1. ปัจจัยด้านสังคมประชากร
ปัจจุบันพบว่าหญิงจำนวนมากมีเป้ าหมาย ที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ทำให้สตรีกลุ่มนี้มีการสมรสและการตั้งครรภ์ล่าช้า
2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้คู่สมรสจำนวนมาก รอจนกว่าจะมีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคงก่อนที่จะมีบุตร
3. ปัจจัยด้านการแพทย์
ความก้าวหน้าและความสำเร็จเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่แก้ไขภาวะมีบุตรยาก ทำให้หญิงที่มีบุตรยากสามารถตั้งครรภ์ไดเมื่ออายุมากขึ้น
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในหญิงที่มีอายุมาก
1. ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
การแท้งบุตร การตั้งครรภ์แฝด การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ การคลอดก่อน กำหนด ปัญหาการคลอดยาก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
• ความเสี่ยงต่อความผิดปกติด้านโครโมโซม
• ความพิการแต่กำเนิด
• ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
• Macrosomia
• อัตราตายปริกำเนิดพบว่าเพิ่มสูงขึ้นในมารดาที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
การพยาบาล
1.การประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
2.การประเมินภาวะสขุภาพจากการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.การประเมินความรู้พื้นฐาน
4.การประเมินระบบสนับสนุนทางสังคม
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
1. ปัจจัยด้านสังคมประชากร
ได้แก่ปัจจัยด้าน อายุ อาชีพ รายได ้ สถานภาพสมรส จำนวนบุตร
2. ปัจจัยด้านชีวภาพ
เช่น มารดาที่มีโรคแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ ทารกในครรภ์มีความพิการหรือมีความผิดปกติทางโครโมโซม
3. ปัจจัยด้านจิตสังคม
เช่น การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นจากการถูกข่มขืน การตั้งครรภ์ในวัยเรียน
4. ปัจจัยด้านพฤติกรรมการคุมกำเนิด
ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
1. ผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์
• ผลกระทบทางด้านร่างกาย เช่น การติดเชื้อ การตกเลือด ในกรณีที่ตัดสินใจทำแท้ง
• ผลกระทบทางด้านจิตสังคม มารดารู้สึกเครียด วิตกกังวล ท้อแท ้รู้สึกผิด
2. ผลกระทบต่อบุตร
การเสียชีวิตจากการทำแท้ง มีปัญหาสัมพันธภาพระหว่าง มารดาและบุตร บุตรถูกทอดทิ้ง ทำ ใหเ้ด็กเหลา่นี้มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต
3. ผลกระทบต่อครอบครัว
การมีบุตรเพิ่มขึ้นจากการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ อาจทำให้ครอบครัวเกิดความเครียด มีภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูบุตรเพิ่มขึ้น
4. ผลกระทบต่อสังคม
เกิดปัญหาการทอดทิ้งบุตร รัฐบาลต้องสูญูเสียงบประมาณในการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกทอดทิ้งเป็นจำ นวนมาก
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความรุนแรงในครอบครัว
1. ปัจจัยส่วนบุคคล
ได้แก่ อายุ การศึกษา สภาพจิตใจ การใช้สารเสพติด และ ประสบการณ์เกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัว
2. ปัจจัยด้านครอบครัว
ได้แก่ ลักษณะครอบครัว เศรษฐฐานะทางสังคม สัมพันธภาพ ภายในครอบครัว
3. ปัจจัยด้านสังคม
ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม มาตรฐานทางสังคม
ผลกระทบของความรุนแรงในครอบครัว
1. ผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์
เกิดการบาดเจ็บจากการกระทำความรุนแรง
2
. ผลกระทบทางด้านจิตใจและอารมณ ์
เศร้า เครียด วิตกกังวล ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง
3. ผลกระทบทางด้านพฤติกรรม
สตรีที่ถูกทำร้ายจะมีปัญหาเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรม เช่น สูบบุหรี่ ใช้สารเสพติด
4. ผลกระทบทางด้านสังคม
มีปัญหาเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส มีการแยกตัวจากสังคม
5. ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เกิดการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
มารดาที่ใช้สารเสพติดในระหว่างการตั้งครรภ์
Fetal alcohol syndrome (FAS) มีลักษณะดังต่อไปนี้
• ด้านการเจริญเติบโต
: ทารกเจริญเติบโตช้าในขณะอยู่ในครรภ์เมื่อคลอดออกมาก็เจริญเติบโตช้า
• ระบบประสาท:
ทารกจะมีอาการสั่น , ดูดนมไม่ดี,กล้ามเนื้อเกร็งหรืออ่อนปวกเปียก พัฒนาการช้า
• การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง(ต้องมีอย่างน้อย 2ข้อ):
ตาแคบ, หนังตาตก,คางเล็ก ศีรษะเล็ก ตาเล็ก ศีรษะเล็ก หน้าเล็ก,ริมฝีปากบนบางและกว้าง, จมูกสั้นและเชิด,ไม่มีร่องจากจมูกถึงริมฝีปาก
• อาการอื่นที่พบได้:
ความผิดปกติของหัวใจ, กระดูกสันหลังผิดปกติ,แขนขาผิดปกติ, ระบบขับถ่ายผิดปกติ
• FAS จะเกิดในผู้ที่ดื่มสุรามากกว่า 3 หน่วยสุราต่อวัน
การสูบบุหรี่
• ทารกในครรภไ์ม่เจริญเติบโต
IUGR พบว่าน้ำหนักทารกที่ลดสัมพันธ์กับปริมาณบุหรี่ที่สูบ
•
คลอดก่อนกำหนด
• แท้ง
• อัตราการตั้งครรภ์ลดลงประมาณร้อยละ 50
▪ มารดาที่ดื่มกาแฟมากกว่า 7-8 แก้วต่อวัน จะพบอัตราของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย กว่าปกติการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด และการตายคลอดเพิ่มขึ้น
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35