Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลภาวะสูญเสียเศร้าโศก - Coggle Diagram
การพยาบาลบุคคลภาวะสูญเสียเศร้าโศก
การสูญเสีย (Loss)
หมายถึง สภาพการณ์ที่บุคคลต้องแยกจากสูญหาย หรือต้องปราศจากบางสิ่งบางอย่างที่เคยมีอยู่ในชีวิต ซึ่งมีลักษณะที่อาจเกิดขึ้นทันทีทันใด หรือค่อยเป็นค่อยไป คาดการณ์ได้หรือไม่สามารถคาดการณ์ได้ และอาจท่าให้เกิดความชอกช้่าและเจ็บปวดอย่างมาก หรือเพียงเล็กน้อย
ประเภทของการสูญเสีย
การสูญเสียบุคคลส่าคัญของชีวิต เป็นการสูญเสียที่มีความหมาย มีความส่าคัญในชีวิต เช่น การพรากจากคนรักด้วยความตาย หรือการหย่าร้าง
การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรีระ จิตใจและสังคม เป็นความสูญเสียความสมบูรณ์ มั่นคง ทางกาย จิต สังคม ซึ่งกันและกัน
การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ เป็นการสูญเสียสิ่งของต่างๆ ทั้งอย่างสมบูรณ์บางส่วนและชั่วคราวหรือถาวร สิ่งของหรือสมบัติดังกล่าว
ปฏิกิริยาต่อการสูญเสีย
ระยะช็อก (Shock and Disbelief) ระยะแรกที่รับรู้ถึงการสูญเสียบุคคลจะตกใจ ไม่เชื่อ ปฏิเสธ อาจเกิดความรู้สึกมึนชาใน 2-3 ชั่วโมงถึง 2-3 สัปดาห์
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย (Developing Awareness) บุคคลเริ่มมีสติรับรู้มากขึ้น และตระหนักรู้ได้ถึงการสูญเสีย อาจเกิดขึ้นภายในไม่กี่นาทีหรือเป็นชั่วโมง
3ระยะพักฟื้น (Restitution) บุคคลจะมีการปรับตัวเพื่อฟื้นคืนสู่ภาวะปกติ เริ่มยอมรับความจริง การหมกมุ่นคิดถึงบุคคลที่สูญเสียลดน้อยลง มองหาสิ่งใหม่ทดแทน และเริ่มมีความหวังใหม่ในชีวิต
ภาวะเศร้าโศก (Grief)
หมายถึง ความรู้สึกเสียใจ ที่เกิดขึ้นเมื่อคาดว่าจะมีการสูญเสียหรือรับรู้ว่าตนเองสูญเสีย เป็นปฏิกิริยาตอบสนองที่แสดงออกทั้งทางสรีระและอารมณ์
กระบวนการเศร้าโศกปกติ (Normal Grief Response)
ระยะแรก (ระยะเฉียบพลัน) ระยะเฉียบพลัน มักอยู่ในช่วง 4-8 สัปดาห์แรกจะแสดงอาการช็อกและไม่เชื่อ จากนั้นจะเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาการระลึกรู้และชดใช้ ช่วงช็อกและไม่เชื่อ
ระยะที่สอง (ระยะเผชิญกับการสูญเสีย)ระยะเผชิญกับการสูญเสีย ภายหลังจากผ่านช่วงวิกฤติไปแล้ว หลักใหญ่ของกระบวนการเศร้าโศกจะเกิดขึ้นภายในจิตใจ ใช้เวลาประมาณ 1-2 ปี
ความเศร้าโศกผิดปกติ (Maladaptive Grief Response)
เกิดขึ้นเพราะไม่สามารถปรับสภาพจิตให้เป็นไปตามกระบวนการของความทุกข์โศกได้ อาจแสดงออกโดยมีเศร้าโศกยาวนาน (Prolonged grief) ปฏิกิริยาเศร้าโศกล่าช้า (Delayed reaction)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/เศร้าโศก
สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่เชื่อถือไว้วางใจ
1.1 สร้างสัมพันธภาพทางวิชาชีพแบบ 1:1
1.2 พูดคุยทักทายสม่่าเสมอ และพอเหมาะ
1.3 พยาบาลมีท่าทีสงบ มั่นคง และให้ความรู้สึกร่วม (Empathy)
1.4 ไม่แสดงท่าทีคุกคาม ต่าหนิ วิพากษ์วิจารณ์พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
ส่งเสริมให้ลดความรู้สึกเศร้าโศกลง
2.1 ให้เวลาผู้ทุกข์โศกได้ระบายอารมณ์เศร้า เสียใจ ให้รู้สึกว่าพยาบาลยอมรับต่อการแสดงความเศร้าโศก เสียใจ ร้องไห้
2.2 สร้างบรรยากาศและเปิดโอกาสให้มีการสื่อสารด้านอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา
2.3 ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อให้ได้รับรู้ความรู้สึกของตนเอง เช่น “คุณรู้สึกเศร้าเสียใจ” เป็นต้น
2.4 ให้ก่าลังใจ และกระตุ้นให้ได้แสดงอารมณ์ และความรู้สึกต่อสิ่งสูญเสียมากกว่าที่จะสนับสนุนให้เลิกคิดถึง ซึ่งจะเป็นการเก็บกดความรู้สึกเอาไว้ เช่น เมื่อเศร้าโศกร้องไห้ พยาบาลไม่ควรพูดปลอบโยนให้หยุดร้องไห้ ควรนั่งข้างๆ อยู่เป็นเพื่อน อาจสัมผัสเบาๆ แสดงความรู้สึกร่วม และรอจนกว่าผู้เศร้าโศกจะอารมณ์ดีขึ้นหรือต้องการพูดระบายความรู้สึก เป็นต้น
ส่งเสริมการสร้างและความคาดหวังที่เป็นจริง
3.1 ใช้เทคนิคช่วยให้ระบายความรู้สึกหมดหวังท้อแท้ใจ
3.2 สนับสนุนวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม โดยเพิ่มก่าลังใจและความพยายามต่อสู่กับความรู้สึกเศร้าโศก
3.3 เพิ่มความรู้สึกมีหวังในชีวิตแม้จะต้องสูญเสียบางสิ่งไป
3.4 ชี้ให้ผู้เศร้าโศกเปรียบเทียบประสบการณ์ของตนกับผู้อื่นที่มีลักษณะรุนแรงกว่า เพื่อให้เกิดความรู้สึกผ่อนเบาความทุกข์ของตน
3.5 ส่งเสริมการสร้างศรัทธา และความหวังที่ยึดพระและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
3.6 เพิ่มความหมายของการมีชีวิต คุณค่าและความผูกพันของตนกับผู้อื่น
กระตุ้นให้ผู้เศร้าโศกเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆเพื่อหลีกเลี่ยงการหมกมุ่นและเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจโดย
4.1 จัดกิจกรรมเล็กๆน้อยๆที่สามารถกระท่าได้ด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมดูแลความสะอาดตนเอง จัดตะ ท่าความสะอาดที่นอน ท่างานฝีมือ ท่าสวน เป็นต้น
4.2 กระตุ้น ชักชวนให้ผู้เศร้าโศกเข้าร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบ่าบัด
5.1 ดูแลให้อากาศถ่ายเทสะดวก สะอาดและปลอดภัย
5.2 มีแสงสว่างเพียงพอ และสงบปราศจากเสียงที่ดังหรือกระตุ้นเกินไป
5.3 จัดสิ่งแวดล้อมที่ปราศจากสิ่งกระตุ้นที่ท่าให้เกิดความเศร้าเสียใจมากยิ่งขึ้น
สนับสนุนค้่าจุนจิตใจของญาติ และส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้เศร้าโศกและญาติโดยอธิบายให้ญาติเข้าใจความรู้สึกและพฤติกรรมของการแสดงออกและหนทางในการตอบสนองที่เหมาะสม
ปูองกันการเกิดปฏิกิริยาที่เศร้าโศกผิดปกติ
7.1 เฝูาระวัง สังเกตอาการผิดปกติ เช่น มีอาการเศร้าซึมมากขึ้น ร่วมกับความวิตกกังวล มีปฏิกิริยาถดถอย ย้่าคิดย้่าท่า โดยเฉพาะคิดฆ่าตัวตาย เป็นต้น
7.2 ให้ความรู้แก่ผู้เศร้าโศกและญาติ ให้เข้าใจถึงการมีปฏิกิริยาเศร้าโศกต่อการสูญเสียและสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในหนทางที่เหมาะสม
ดูแลช่วยเหลือเกี่ยวกับกิจวัตรประจ่าวัน ส่งเสริมให้ได้รับการพักผ่อน ได้รับอาหารที่เพียงพอและรักษาความสะอาดของร่างกาย
การประเมินผลทา