Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดด้วยหัตถการ :silhouettes: - Coggle Diagram
การบำบัดด้วยหัตถการ :silhouettes:
การจัดการบาดแผลอุบัติเหตุ
ประเภทของบาดแผลอุบัติเหตุ
1.บาดแผลฟกช้ำ (Contusion wound/ Bruise) เป็นการฉีกขาดของเนื้อเยื้อใต้ ผิวหนังไม่ชัดเจน มีรอยฟกช้ำมีเส้นเลือด แตก
บาดแผลถลอก (Abrasions) แผลตื้นๆ มีเลือดออกจากเส้นเลือดฝอย
บาดแผลตัด (Cut wound) เป็นบาดแผลจากของมีคม มักมี เลือดออกมาก
บาดบาดแผลฉีกขาด (Lacerations wound) เป็นแผลที่เกิดจากของ ไม่มีคมกระทบหรือเฉี่ยว เส้นเลือดมักถูกหนีบ เลือดจึงออกไม่ มาก แต่ติดเชื้อได้
บาดแผลทะลุหรือบาดแผลถูกแทง (Punctures or penetrating wound) เกิดจากถูกแทงด้วยของแหลม หรือถูกกระสุนปืน มี ทางเข้าเล็กแต่ลึก
บาดแผลถูกบีบหรือบด (Crushed wound) มักเกิดจาก อุบัติเหตุรุนแรง
บาดแผลถลก (Avulsion wound) เป็นบาดแผลที่มีเนื้อเยื่อขาดหรือหลุดออก จากร่างกาย มีส่วนของผิวหนังแยกจากชั้น Subcutaneous ที่อยู่ข้างล่าง ชั้น ต่างๆของ Dermis, subcutaneous, fascia, muscle สามารถแยกจากกันด้วย แรงฉีกเนื้อเยื่อออก
Antiseptic solution ที่่ใช้ในการล้างแผล
70% Alcohol เช็ดรอบแผล
Providone iodine หรือ Betadine ไม่ควรใช้ในแผล สามารถดูดซึม เขา้กระแสเลือด อาจเป็นพิษได้
4 % Chlorhexidine (Hibiscrub) มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรียแกรมบวกได้ดีกว่าแกรมลบ
0.9% NSS เป็น isotonic กับเซลล์ ช่วยกระตุ้นการงอกขยายของ เซลล์ใหม่ ไม่ทำลายเนื้อเยื่อ ไม่ฆ่าเชื้อ แต่ใช้ในการชะล้างเพื่อ กำจัดเชื้อออกไป (เปิดแล้วใช้ให้หมดใน 24 ชม.)
Hydrogen peroxide ช่วยชะล้างบาดแผลและเนื้อเยื่อที่ตาย ทำให้ แผลสะอาดขึ้น ช่วยให้ทำ debridement ง่ายขึ้น ลดการเกิด bleeding ระหว่างท าหัตถการ ออกฤทธิ์สั้น ไม่สามารถใช้ได้ดีใน แผลที่ลึกมาก
ซักประวัติข้อมูลต่างๆ ประเมินลักษณะบาดแผล ตำแหน่งของบาดแผล ขนาด พิจารณาการจัดการบาดแผล
ยาชาเฉพาะที่ (Local anesthetics)
คือ ยาที่ออกฤทธิ์ปิดกั้นการส่งกระแสประสาท กับเส้นประสาทเท่านั้น ทำให้หมดความรู้สึกบริเวณที่เส้นประสาทนั้นไปเลี้ยง แต่ผู้ป่วยจะยังรู้สึกตัวตลอดเวลา
ยาชาชนิดที่นิยมใช้
Procaine Hydrochloride หรือ Novocaine ราคาถูก ออกฤทธิ์ เร็ว มีฤทธิ์นาน 30 นาทีถึง 2 ชม. มีฤทธิ์อยู่ได้นานขึ้นโดย เติม Adrenaline ลงไป 0.5 cc. ต่อยาชา 100 cc. (Adrenaline ทำให้ หลอดเลือดหดตัวยาซึมหายไปชา้ ท าให้มีฤทธิ์อยู่นาน)
อาจพบอาการแพ้ อย่างอ่อน ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ แพม้าก ได้แก่ หน้ามืด ตามองไม่เห็น ว้าวุ่น ชักหมดสติ
Lignocaine hydrochloride หรือ Lidocaine หรือ Xylocaine นิยมใช้ เนื่องจากออกฤทธิ์ต่อประสาทส่งความรู้สึกมากกว่าประสาทสั่งการ เคลื่อนไหวพิษของยาชา เช่นเดียวกับ Procaine ขนาดของยาชาที่นิยม ใชค้ือ 0.5%, 1%, 2% และมีชนิดผสม Adrenaline เพื่อให้ออกฤทธิ์นาน
Pontocaine hydrochloride ระงับความรู้สึกดี แต่มีพิษมาก มี ประโยชน์ในการทาลงบนเยื่อเมือกต่างๆ เพื่อให้หมดความรู้สึก ใช้ ในการท าหัตถการที่ลูกตา จมูก ปาก และคอ ขนาดของยาขึ้นกับ ต าแหน่งของอวัยวะที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์
อาการไม่พึงประสงค์ของยาชา
1.ถ้าความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดสูง อาจเกิดจากการใช้ยาชา เกินขนาด หรือฉีดยาชาเข้าหลอดเลือดโดยไม่ตั้งใจหรือการดูดซึมของยาเป็นไปอยา่งรวดเร็ว
2.ผลต่อระบบประสาท : คลื่นไส ้อาเจียน มึนงง ตื่นเต้น กระสับกระส่าย กล้ามเนื้อกระตุก ชัก โคม่า หมดสติ ศูนย์ควบคุม การหายใจอาจถูกกด
ผลต่อระบบเลือด : ความดันโลหิตต่ำ หัวใจเต้นช้าลง อาการแพ ้ แบบ anaphylaxis ซึ่งพบได้น้อย
การแก้ไขการแพ้ยาชา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง+ รายงานแพทย์
ให้นอนพักศีรษะสูง ให้ออกซิเจน
วัดสัญญาณชีพ บันทึกอาการและอาการเปลี่ยนแปลงใกล้ชิด ถ้า BP ต่ำแสดงว่ามีแนวโน้มช็อก ควรให้ 5%D/NSS IV. Drip อย่างเร็วระหว่างรอแพทย์
หากผู้ป่วยชักให ้Valium 10 mg. IV. push ช้าๆตามแผนการรักษา
หากหัวใจหยุดเต้นอาจให ้Adrenaline 1:1,000 IV.
ให้การพยาบาลช่วยหายใจ เตรียมอุปกรณ์ใส่ ETT. เตรียม ช่วย CPR.
วิธีการใช้ยาชา
การใช้ทาหรือหยอด (Topical)
การฉีดเฉพาะที่ (Infiltration)
การสกดับริเวณ (Field block)
การฉีดยาสกัดเส้นประสาท (Nerve block)
การทำให้ชาโดยฉีดที่ไขสันหลัง (Spinal block)
หลักการฉีด
ก่อนฉีดยาชาควรปฏิบัติดังนี้
ซักประวัติเกี่ยวกับการแพ้ยา ประวัติการถอนฟัน
อธิบายใหท้ราบถึงวัตถุประสงค์ของการฉีดยาชา (เพื่อไม่ให้เจ็บ ขณะทำหตัถการ)
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการแพ้ หรืออาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น จากการได้รับยาชา ถ้ามีอาการผิดปกติตอ้งรีบแจ้งพยาบาลทนัที
พูดคุยกับผู้ป่วยให้คลายความกังวล จัดให้นอนในท่าที่สบาย
เลือกใช้เข็มฉีดยาขนาดเล็ก ตรวจดูว่าเข็มไม่ตัน และกระบอกฉีดยากับเข็มสวมกันได้ พอดี
การเริ่มฉีดยาชาและเดินยาชา ควรฉีดยาเข้าในผิวหนังบริเวณ Intradermal wheal ก่อน เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บเวลาเคลื่อนเข็ม โดยปักเข็มเพียงพ้นผิวแล้วฉีดยาเข้าไปเล็กน้อย ยกเวน้บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้าและหนังศีรษะ
จากนั้นค่อยๆปักเข็มเข้าไปในเนื้อใต้ผิวหนัง ดูดดูว่าปลายเข็มเข้าหลอดเลือดหรือไม่ ถ้ามั่นใจว่าไม่เข้าหลอดเลือดให้เริ่มเดินยาช้าๆประมาณ 1-2 cc. แล้วรอดูประมาณ 1-2 นาที หากไม่แพ้เริ่มฉีดต่อจนได้ปริมาณที่ต้องการ
ไม่ควรฉีดยาเร็วและแรง หากฉีดบริเวณกว้าง ควรแทงเข็มผ่านผิวหนังครั้งเดียว ทดสอบการชาโดยใช ้Tooth forceps
เตรียมอุปกรณ์ฉีดยาชา : Syringe sterile 3,5, 10 cc. ขึ้นกับขนาดแผล เข็มดูดยาชา เบอร์ 20 และเขม็ฉีดยาชาเบอร์ 24 -25 ความยาว 1.5 นิ้ว
ดูดยาชา 2% Lidocaine ชนิดไม่ผสม Adrenaline ขนาด 4.5 mg./kg.
ใชส้า ลีชุบ 70 % alcohol เช็ดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาชา โดยเช็ดวนออกห่างจาก ตำแหน่งที่จะฉีดยาชาเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว
ขณะแทงเข็มผ่าวผิวหนังเข้าสู่ชั้น intramuscular ควรทดสอบทุกครั้งเพื่อป้องกันการ ฉีดเขา้หลอดเลือด
ฉีดยาชารอบๆแผล (Infiltration) ในกรณีที่บาดแผลอยู่บริเวณอื่น ไม่ใช่นิ้วมือนิ้วเท้า รอ 1 นาทีเพื่อให้ยาชาออกฤทธิ์
ฉีดยาชาสกัดกั้นเส้นประสาท (Nerve block) กรณีบาดแผลอยู่ที่นิ้วมือ นิ้วเท้า รอ 1 นาที เพื่อให้ยาชาออกฤทธิ์
การเย็บแผล
วัตถุประสงค์ของการเย็บแผล
ห้ามเลือด
ช่วยในการ healing ของแผล
เป้าหมาย
ไม่ติดเชื้อ
ใชง้านไดต้ามปกติ
มีแผลเป็นนอ้ยที่สุด คงความสวยงามไว้
แผลที่ไม่ควรเย็บ
ได้แก่ สุนัขกัด ตกน้ำครำ แผลติดเชื้อ ยกเว้นแผลบริเวณที่สำคัญอาจพิจารณาเย็บ
อุปกรณ์เย็บแผล
ถาดสแตนเลสมีหลุม
สำลีก้อนเล็ก
ผ้าก๊อส
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
ผ้าสี่เหลี่ยมผืนเล็ก
Tooth forceps
Non Tooth Forceps
Needle holder
วัสดุเย็บหรือด้าย
กรรไกรตดัไหม
น้ำยาฆ่าเชื้อ ได้แก่ Betadine หรือ Chlorhexidine
การจับ Forceps
Tooth forceps จับภายนอก เช่น ผิวหนัง หรือจับภายใน เช่น จับพังผืด
non tooth forceps ใช้หยิบภายใน
เข็มเย็บแผล (Needle)
เข็มโค้งมาก เย็บแผลที่แคบ
เข็มโค้งน้อย เย็บแผลที่กว้าง
ขนาดความใหญ่และความยาวของเข็ม พิจารณา ตามความต้องการในการตักเนื้อเข้าหากัน
หลักการเย็บแผล
เตรียมอุปกรณ์เย็บแผล เลือกชนิด/ขนาดของเข็ม และเส้นไหมให้ เหมาะกับแผลที่จะเย็บ
ใส่ถุงมือ sterile
ปูผ้าสี่เหลี่ยมปราศจากเชื้อใต้แผล และปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางคลุม บริเวณแผล
ตรวจดูแผลอีกครั้ง หากมีเนื้อตาย ขอบแผลกระรุ่งกระริ่งให้ใช้ กรรไกรตัดเนื้อเล็มเศษเนื้อตายและตัดเล็มขอบแผลให้เรียบ (แผล ที่ใบหน้าห้ามตัดเนื้อเยื่อ)
ทำการเย็บแผล
5.1 การจับ Needle holder ควรจับให้อยู่ในอุ้งมือ
5.2 การจบัเขม็ จบัที่ประมาณ 1/3 ค่อนมาทางหัวเข็มหรือโคนเข็ม
5.3 การสนดา้ย/ ไหมเยบ็ สนเขา้ที่รูเขม็ (ในกรณีที่ไม่มีไหมติดเข็ม)
5.4 การปักเข็ม ปักลงไปตรงๆให้ตั้งฉากกับผิวหนังและห่างจากปากแผลพอสมควร
5.5 หมุนเข็มให้ปลายเสยขึ้นโดยใช้ข้อมือ อย่าดันตรงๆเพราะเข็มโค้งอาจหักได้ 5.6 ปล่อย needle holder จากโคนเข็ม มาจับที่ปลายที่โผล่พ้น skin ออกมา (ถ้าจับปลายแหลม เข็ม จะทื่อและงอได้) แล้วหมุนเข็มตามโค้งของเข็ม จนกระทั่งโคนเข็มหลุดจากผิวหนัง
5.7 ใช้มือที่ไม่ถนัดจับโคนเชือกไว้ มืออีกข้างจับด้ายรูดออกไป แล้วใช้ needle holder ผูกเงื่อน ตาย (ขอบแผลต้องแนบชิดกันพอดี)
5.8 ใช้กรรไกรตัดไหมตัดด้ายให้เหลือโคนไว้ประมาณ 0.5 เซนติเมตร
ข้อห้าม
ห้ามตัดหนังทิ้ง ในบริเวณใบหน้าและฝ่าเท้าทิ้งโดยเด็ดขาด
ห้ามเย็บแผลโดยไม่ remove FB ออกก่อน
ห้ามใช้ Xylocaine with adrenaline โดยเด็ดขาด ถ้าใช้ต้องแพทย์ สั่งและห้ามเด็ดขาด คือ บริเวณนิ้วมือเท้า ใบหู อวัยวะเพศชาย nipple
ถ้าเย็บศีรษะ ควรตรวจสอบ hematoma ถ้าพบ pressure จนยุบทำหมอนรองศีรษะ
Interrupted suture
การเย็บแบบธรรมดา (Simple suture หรือ Plain interrupted suture)
การเย็บแบบสองชั้น (Mattress suture หรือ Mattress interrupted suture)
Continuous suture เป็นการเย็บแผลโดยใช้ไหมต่อเนื่อง โดยมีการเย็บผูกปมเฉพาะเข็มแรกกับ เข็มสุดท้าย
ข้อปฏิบัติหลังเย็บแผล
ตรวจความเรียบร้อยของแผล ดูตำแหน่งที่มีเลือดออกผิดปกติ เพื่อป้องกันการเกิด Hematoma ในภายหลังตรวจสอบได้โดยใช้ สำลีชุบ NSS เช็ดคราบเลือดออกให้หมด แล้วสังเกตดูว่ามี เลือดออกอยู่หรือไม่
ใช้ก๊อซซบัแผลให้แห้ง
ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซ
ปิดดว้ยพลาสเตอร์ใสตามแนวขวางของกล้ามเนื้อ ผ้าผู้ป่วยแพ้ พลาสเตอร์ใสให้เปลี่ยนชนิดพลาสเตอร์
การพยาบาลหลังเย็บแผล
นัดมาทำแผลในวันรุ่งขึ้น ถ้าแผลแห้งดี รอบแผลไม่บวมแดงอาจนัดวันเว้นวัน
คำแนะนำ
รักษาแผลให้แห้งสะอาดอยู่เสมอโดยเฉพาะใน 24 ชม.แรก ห้ามแผลเปียกน้ำ
ยกอวัยวะที่มีแผลให้สูงกว่าหัวใจ
ไม่ให้เปลี่ยนผ้าปิดแผลหรือแกะแผลเอง
รับประทานอาหารที่มีโปรตีน แร่ธาตุ และวิตามินสูง
การสังเกตอาการผิดปกติที่ตอ้งมา รพ.ทันที เช่น มีไข้ ปวดแผลมากกว่าปกติ แผลบวมแดง แสบร้อน มี discharge ซึมมาก
ระยะเวลาในการตัดไหม
บริเวณศีรษะและใบหน้า 5 วัน
ลำตัว ผิวหนังไม่ตึงมาก 7 วัน
แขน ขา หรือผิวหนังที่ตึงมาก 7-10 วัน หรือ ในตำแหน่งที่มีการ เคลื่อนไหวมาก 10- 14 วัน
ในกรณีที่ไม่แน่ใจว่าติดสนิทดีหรือยัง ให้ตัวไหมอันเว้นอันไป ก่อน ถ้าแผลแห้งติดดีอาจพิจารณาตัดทั้งหมด แต่ถ้าไม่ติดสนิทนัด ตัดในวันถัดไป
การผ่าฝี Incision and Drainage
คือ ตุ่มหนองอักเสบสะสม ใต้ผิวหนัง หนองมีกลิ่นเหม็น เจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน
ฝีแบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ฝีที่ผิวหนัง
2.ฝีที่อวยัวะภายใน
อุปกรณ์
ใบมีด นิยมใช้เบอร์ 11 (ชายธง),ด้ามมีด, Gauze , gauze drain ,Tooth/ non tooth forceps ,Arterial clamp ,Probe ,Curette
น้ำยาฆ่าเชื้อ10% povidine iodine ,
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
หลังผ่าฝี ควรบันทึกลักษณะและปริมาณของ content ที่ได้ เช่น ได้หนองข้นสีกะปิประมาณ 3cc.
Nail Avulsion การถอดเล็บ
หมายถึง การผ่าตัดทางการแพทย์ โดยใช้เครืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ เพือ ถอดเล็บมือหรือเล็บเท้าทีผิดปกติออกมา
อาการและอาการแสดง
ติดเชื้อราที่เล็บ ที่ทําให้เล็บเกิดความเสียหายรุนแรง
เล็บขบ เป็นเรื้อรัง ไม่หาย
มีหนอง เล็บงอจิกตนเอง
ขั้นตอนการถอดเล็บ
แพทย์ตรวจอาการ แล้วพิจารณาว่าผู้ปวยควรถอดเล็บหมดหรือตัดดึงเล็บออก เพียงบางส่วน
จัดท่าผู้ปวย จากนั้นให้สารละลายโพวิโดน ไอโอดีน หรือยาชา เพื่อระงับความรู้สึก เจ็บปวดบริเวณนิวทีจะถูกถอดเล็บ
ในกรณีทีมีการติดเชือ แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะ แล้วนําหนองใต้เล็บออกก่อน
ใช้ยางรัดบริเวณโคนนิวส่วนที่แห้ง แล้วบีบหรือกดข้างนิวในขณะถอดเล็บ เพือไม่ให้เลือดไหลออกมาก
ล้างทําความสะอาดนิ้วอีกครั้ง ก่อนจะใช้เครื่องมือดึงถอดเล็บส่วนที่มีปัญหาออก มาจนหมด
หากเนื้อเยื่อบริเวณใต้เล็บเสียหายมาก แพทย์อาจใช้เครืองมือจี้ด้วยไฟฟ้า เพื่อ กําจัดเนื้อเยื่อ แล้วเช็ดออกด้วยผ้าก๊อซ
หลังจากนั้น อาจทายาปฏิชีวนะในรูปครีมขี้ผึ้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ แล้วพัน ด้วยผ้าพันแผลที่สะอาดปลอดเชื้อ
หลังพักฟื้นขณะถอดเล็บ
ควรเปลี่ยนผ้าพันแผลทุกวันเพื่อปองกันการติดเชื้อ
ระมัดระวังไม่ให้บาดแผลได้รับการกระทบกระเทือน เปียกชืน
ยกมือหรือเท้าที่ถอดเล็บออกให้อยู่สูงกว่าหัวใจเสมอในช่วง 24 ชั่วโมงแรกหลัง การถอดเล็บ
ประคบเย็นรอบ ๆ บาดแผลเป็นเวลา 15-20 นาที ทุก ๆ ชั่วโมง เพื่อช่วยลด อาการบวมบรรเทาความเจ็บปวด
ไม่สวมรองเท้าที่คับแน่นจนเกินไป
หากมีอาการต่อไป
เช่นมีเลือดไหลออกมาก มีเส้นสีแดงเปนจําตามแขนหรือขา มีไข้ หนาวสั่น แผลบวมแดง หรือมีหนองไหลออกมา
ควรรีบไปพบแพทย์
การดามกระดูก
ประเภทของกระดกูหัก
แบ่งตามลักษณะแผล
Closed Fracture
Open Fracture
แบ่งตามลักษณะการหัก
Simple Fracture
Pathologic Fracture
Spiral Fracture Oblique Fracture
Transverse Fracture
Comminuted Fracture
Greenstick Fracture
Compression Fracture
Stress Fracture
Impacted Fracture
Avulsion Fracture
อาการ
ปวดกระดูก บวม
อวัยวะผิดรูปบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
เคลื่อนไหวได้น้อยลง
รู้สึกชา
วินิจฉัย
CT scan
MRI
X-RAY
การรักษา
จัดเรียงกระดูก
ผ่าตัด
ใส่เฝือก
ตัวอย่าง
กระดูกปลายแขนหัก
ใช้ไม้แผ่นแบนๆหรือหนังสือพิมพ์พับหนาๆให้มีความยาว ตั้งแต่ปลายนิ้วถึงข้อศอกใช้เป็นเผือกแล้วพันด้วยเชือกหรือผ้ายืดให้ กระชับใช้ผ้าคล้องคอห้อยแขนข้างที่หักไว้
กระดูกขาท่อนล่างหัก
ควรดามโดยใช้เฝือก 2 อันยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงเหนือเข่าและใช้ผ้าผูก ติดกันเป็นเปลาะๆ ใช้ผ้าหนาๆสอดระหว่างขาทั้ง 2 ข้างแล้วผูกติดกันเป็นเปลาะๆ ข้อควรระวังควรให้ปลายเท้าตั้งฉากเสมอและคอยตรวจดูว่าผ้าที่มัดไว้แน่นเกินไป จนเลือดไหลไม่สะดวกหรือไม่และพยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่รัด
กระดูกต้นขาหัก
ใช้เฝือก 2 ชิ้นโดยชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงใต้รักแร้อีกชิ้น ยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงโคนขาแล้วใช้ผ้าผูกเฝือกทั้ง 2 ให้ติดกับขาข้างที่หัก ถ้าไม่มีเฝือก ให้ผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันถ้ามีบาดแผลหรือกระดูกโผล่อย่า พยายามล้างทำความสะอาดถ้ามีเลือดออกใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือดก่อน