Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด (Birth trauma or injury) -…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด (Birth trauma or injury)
การบาดเจ็บของทารกแรกเกิดที่เกิดขึ้นในระยะตั้งครรภ์คลอดจนถึงระยะคลอด
ปัจจัยส่งเสริม
คลอดยาก
คลอดติดไหล่
ท่าผิดปกติ
การคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
ทารกตัวโต (Macrosomia, Giant bady)
คลอดก่อนกำหนด
CPD
ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
มารดาเตี้ย < 145 ซม.
คลอดเร็วเกินไป
ครรภ์แรก (primigravida)
ชนิด
Head and skull injury : บวมน้ำของหนังศีรษะ เลือดออกใต้หนังศีรษะ เลือดออกใต้เยื่อหุ้มกระดูกกระโหลกศีรษะ กระดูกกะโหลกศีรษะแตกร้าว กระดูกกะโหลกศีรษะยุบ เลือดออกในกระโหลกศีรษะ
Injury of the eyes : เลือดออกที่ตาขาว เลือดออกในลูกตา
Soft tissue injury : ถลอก ฉีกขาด ผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออกใต้ผิวหนัง จุดจ้ำเลือด เนื้อตาย
Nerve injury : spinal injury brachial plexus injury facial nerve paralysis
Musculoskeletal injury : clavicular fracture fracture humorous
Soft tissue injury
Abrasions, Laceration ,Erythema ,Petechiae Ecchymosis ,Subcutaneous fat necrosis
รักษา : ตามอาการ ทำความสะอาด สังเกตการบาดเจ็บอื่นร่วมด้วย
การบาดเจ็บของเส้นประสาทเลี้ยงใบหน้า (facial nerve paralysis)
เสียเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ศีรษะทารกกดกับกระดูก sacrum มารดา หรือใช้คีมช่วยคลอด
อาการและอาการแสดง : เป็นด้านเดียว ใบหน้าด้านที่เป็นไม่เคลื่อนไหว ตาลืมได้ครึ่งเดียวหลับตาไม่สนิท ลืมตาตลอดเวลา เห็นชัดที่สุดเมื่อร้องไห้ หน้าเบี้ยวมุมปากตก
การรักษาพยาบาล
ดูแลเกี่ยวกับการได้รับนม สอดนมเข้าทางปากที่ปกติ สังเกตการดูดกลืน ระวังการสำลัก
เส้นประสาทขาด ผ่าตัดซ่อมแซม (Neuroplasty)
ดูแลไม่ให้ดวงตาได้รับอันตราย โดยหยอดน้ำตาเทียมและปิดด้วย eye pad
อธิบายให้บิดา มารดาของทารกให้เข้าใจถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้น
Head and skull injury
Cut Succedaneum: การบวมน้ำของหนังศีรษะ
ลักษณะขอบไม่ชัดเจน กดบุ๋ม บวมข้าม suture ก้อนค่อยๆ หายภายใน 36 ชม หรือ 2-3 วัน
การพยาบาล : อธิบายให้พ่อแม่ของทารกเข้าใจว่าภาวะนี้จะค่อยๆ หายเองภายใน 2-3 วัน
Subgaleal hematoma เลือดออกใต้หนังศีรษะ
ขนาดเพิ่มขึ้น นุ่มหยุ่นคล้ายน้ำในถุง กระเพื่อมได้ ข้าม suture เลือดเซาะทั่วศีรษะ ecchymosis รอบๆ ดวงตา หลังหู
การรักษา : เฝ้าระวังภาวะช็อกหรือภาวะซีด ให้PRC เฝ้าระวังและรักษาภาวะตัวเหลือง ด้วยการเจาะเลือดตรวจติดตามระดับbilirubin และ phototherapy
Cephalhematoma เลือดออกใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
คลำได้ก้อนชัดเจนค่อนข้างตึง ขอบเขตชัดเจน ก้อนไม่ข้าม suture ก้อนค่อยๆโต เลือดค่อยๆ ถูกดูดซึม 2-3 สัปดาห์ถึง 3 เดือน
การพยาบาล : ติดตาม V/S ตรวจร่างกาย ประเมินการเปลี่ยนแปลงของทารก
ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
จัดท่านอนตะแคงทับด้านปกติใช้หมอนถุงน้ำรองศีรษะด้านที่มีพยาธิสภาพ
จัดท่าศีรษะสูงกว่าสะโพก 2-3 นิ้ว
ดูแลให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลด้านจิตใจ สัมผัสอย่างนุ่มนวล พูดน้ำเสียงไพเราะ
ประสานงานหน่วยต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลมารดา
ให้มารดาเยี่ยมทารก
อธิบายให้บิดาและทารกเข้าใจ. และเกิดความอบอุ่น
Subconjunctival hemorrhage, retinal hemorrhage เลือดออกที่ตาขาวและในลูกตา
ไม่ต้องรักษาหายเอง
การบาดเจ็บของแขนงประสาท (Brachial plexus injury)
ชนิด
อัมพาตแขนส่วนล่าง (Lower plexus injury/ Klumpke paralysis) C7-C8 และ T1 กล้ามเนื้อมือขยับไม่ได้ ยกแขนงอเเขนได้
รักษาพยาบาล : จัดแขนให้อยู่ในท่ากางหมุนออก ศอกงอตั้งฉากกับลำตัวโดยยกแขนระดับศีรษะท่ายอมแพ้ ไม่ให้เคลื่อนไหวเป็นพักๆ ดีขึ้น 3-6 เดือน
อัมพาตแขนทั้งหมด (Total brachial/Global palsies) C5-T1 ต้องได้รับการผ่าตัดให้ร็วที่สุด
อัมพาตแขนส่วนบน (Upper plexus injury/ Erb’s palsy หรือ Erb Duchene paralysis C5-C6 ข้อศอกจะอยู่ในท่าเหยียดออก แขนส่วนล่างอยู่ท่าคว่ำ ข้อมืองอ และคว่ำมือ
รักษาพยาบาล : จัดท่ายอมแพ้ (Abduction 90 degree/ external rotation of shoulder) ไม่ให้เคลื่อนไหวเป็นพักๆ ดีขึ้น 3-6 เดือน
หลักหการพยาบาล
ช่วยออกกำลังกายแขนและข้อต่างๆ
ควรไม่ควรอุ้มทารกขึ้นจากเตียงบ่อยๆ
จัดท่านอนให้เหมาะสม หรือใส่เฝือกโลหะกางแขนวันละ 3 ครั้ง ควรทำช่วงเวลานอน
เส้นประสาทบริเวณใกล้ๆ คอ และเชื่อมระหว่างคอและกระดูกไหปลาร้า แต่อยู่ใต้กระดูกไหปลาร้า จาก C5 ถึง T1 ถูกดึงยืดหรือกดมาก
Musculoskeletal injury
กระดูกต้นแขนหัก (Fracture humorous)
รักษา : ทำให้ไม่ปวด ให้กระดูกอยู่นิ่ง ๆ ด้วยการใส่เฝือกหรือเฝือกอ่อน
การพยาบาล : กระดูกร้าว ตรึงแขนโดยใช้ผ้าพันให้แนบลำตัว ข้อศอกงอ 90 องศา มือพาดขวางลำตัว กระดูกหัก ใส่เฝือก ดูแลการใส่เฝือก และอาการข้างเคียง จำกัดกิจกรรม สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดา มารดาและทารก เปิดโอกาสให้บิดามารดา ได้ซักถามระบายความรู้สึก
ทารกไม่งอแขนขา ไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่หัก ร้องกวน บวมหรือผิดรูป คลำรอยหักได้ชัดเจน ไม่พบ moro reflex ทารกร้องเมื่อขยับเขยื้อน
Sternocleidomastoid injury
คลำพบก้อนบริเวณ sternocleidomastoid ตั้งแต่แรกเกิดไม่เกิน 10-14 วัน 1-2 ซม ยุบลง 5-8 เดือน มีอาการคอเอียง
รักษา : จัดท่านอนหงาย จับศีรษะให้หันไปทางตรงข้ามกับก้อน กระตุ้นหันตรงข้ามก้อน จับทารกนอนตะแคงข้างที่คอเอียง ทำติดต่อกันอย่างน้อย 6 เดือน
กระดูกไหปลาร้าหัก (Clavicular fracture)
การรักษา : ไม่ทำให้ปวดและให้กระดูกอยู่นิ่งๆ ใช้เวลา 2-3 สัปดาห์
การพยาบาล : วางแขนไว้ในตำแหน่งที่เหมาะสม ลดกิจกรรมหรือสิ่งกระตุ้น ระมัดระวังการอุ้ม เลือกเสื้อผ้าชนิดที่เป็นซิปหรือกระดุม ใส่ข้างบาดเจ็บก่ิน ถอดข้างดีก่อน
ร้องกวนปวดบวม ไม่เคลื่อนไหวข้างที่หัก ได้ยินเสียงกรอบแกรบ crepitus