Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดโดยหัตถการ :<3: :<3: :star: :black_flag: - Coggle Diagram
การบำบัดโดยหัตถการ
:<3: :<3: :star: :black_flag:
การช่วยเหลือผู้ป่วย ที่อุดกลั้นทางเดินหายใจ
สาเหตุ
รับประทานอาหารอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดติดคอ การเคี้ยวไม่ละเอียด
การที่แมลงเข้าไปในจมูก หรือใน รูหู เช่น แมลงสาบ
ในเด็กมักนำสิ่งแปลกปลอมต่างๆ เข้าจมูก เข้าปาก เข้าหู โดยไม่ทราบอันตรายที่จะเกิดขึ้น
ระดับความรุนแรง
ไม่รุนแรง
อาการแสดง
ไอแรงๆได้
อาจได้ยินเสียงหายใจหวีด (wheeze) ระหว่างการไอ
สามารถหายใจได้ มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
รุนแรง
อาการแสดง
ใช้มือกุมบริเวณลำคอ
พูดหรือร้องไม่มีเสียง
หายใจลำบาก ไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ไอเบาๆ หรือไม่สามารไอได้
หน้าเขียว ปากเขียว
มีเสียงลมหายใจเข้าเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเสียง
การช่วยเหลือ
วิธีที่ 2
กรณีผู้ป่วยหมดสติ ในเด็กโตและผู้ใหญ่
2.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายบนพื้นราบ
3.เริ่มทำการกดหน้าอกนวดหัวใจทันที ต่อเนื่อง 30 ครั้ง
1.ตะโกนขอความช่วยเหลือ
4.ทำการช่วยหายใจ โดยจัดท่าเปิดปากผู้ป่วย มองหาสิ่งแปลกปลอมก่อนทำการช่วยหายใจ หากมองเห็นสิ่งแปลกปลอมในปากผู้ป่วย ให้ใช้นิ้วกวาดสิ่งแปลกปลอมออกมา ทำต่อเนื่องเป็นรอบในอัตรา กดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วย หายใจ 2 ครั้ง ทำซ้ำประมาณ 5 รอบ หรือ 2 นาที จนกว่าความช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง หรือจนกว่าจะขจัดสิ่งแปลกปลอมออกมาได้
วิธีที่ 3
กรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า1 ปี ที่ยังรู้สติ แต่ไม่สามารถไอได้ ร้องไม่มีเสียง (การตบหลัง 5 ครั้ง และการกดหน้าอก 5 ครั้ง)
5.กดหน้าอก 5 ครั้ง บริเวณกึ่งกลางหน้าอกบนกระดูกหน้าอกส่วนล่าง ใต้ต่อเส้นราวนม เล็กน้อย
4.พลิกตัวเด็กทารกกลับมาในท่านอนหงาย ใช้มือและแขนทั้งสองข้างประคองตัวเด็ก วางบนแขนของมืออีกข้าง ประคองศีรษะให้มั่นคง ลักษณะศีรษะต่ำกว่าลำตัว
2.ใช้มือข้างหนึ่งประคองศีรษะและกรามเด็กให้มั่นคงในท่าคว่ำหน้า วางตัวเด็กบนท่อนแขน ลักษณะศีรษะต่ำกว่าลำตัว
1.ผู้ช่วยเหลือนั่งบนเก้าอี้หรือนั่งคุกเข่า วางเด็กบนตักของผู้ช่วยเหลือ
3.ใช้ส้นมืออีกข้างตบกึ่งกลางระหว่างสะบักทั้งสองข้างในแนวเฉียงลงด้วยแรงที่มากเพียงพอให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออกได้ ทำซ้ำ5 ครั้ง
6.ตรวจดูสิ่งแปลกปลอมภายในปากเด็ก หากมีให้ใช้นิ้วกวาดสิ่งแปลกปลอมออกมา
7.หากเด็กหมดสติให้ขอความช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และท าการกดหน้าอกทันที
วิธีที่ 1
การรัดกระตุกหน้าท้องในผู้ป่วยที่ยังรู้สติ ในท่ายืนหรือนั่ง ในเด็กโตและผู้ใหญ่
วิธีที่ 4
กรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า1 ปี ที่หมดสติ
4.ทำการกดหน้าอกนวดหัวใจและช่วยหายใจต่อเนื่อง เป็นรอบในอัตรา กดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำซ้ำ ประมาณ 5 รอบ หรือ 2 นาที จนกว่าความช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง หรือจนกว่าจะขจัดสิ่งแปลกปลอมออกมา ได้สำเร็จ
3.ทำการช่วยหายใจ โดยการจัดท่าเปิดปากผู้ป่วย มองหาสิ่งแปลกปลอมก่อนทำการช่วยหายใจ
2.เริ่มทำการกดหน้าอกนวดหัวใจทันทีต่อเนื่อง 30 ครั้ง
1.ตะโกนขอความช่วยเหลือและจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายบนพื้นราบ
การผ่าฝี (Incision and Drainage)
ฝี (Abscess)
คือ ตุ่มหนองอักเสบสะสม ใต้ผิวหนัง หนองมีกลิ่นเหม็น เจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน และก่อตัวขยายใหญขึ้นเรื่อยๆ ประกอบด้วยเซลล์ เม็ดเลือดขาว เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว และเชื้อโรค ซึ่งมักเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย
แบ่งเป็น
ที่ผิวหนัง
ที่อวัยวะภายใน
ชนิด
เช่น ฝีที่ก้น : เกิดบริเวณผิวหนังที่รออยแยกหรือร่องก้น
เช่น โพรงหนองที่ฟัน : เกิดบริเวณเนื้อใต้ฟัน หรือบริเวณเหงือกและกระดูกกรามใต้ฟัน
ขั้นตอนการผ่าฝี
เช็ดบริเวณที่จะผ่าด้วย Povidone iodine โดยเช็ดวนจากด้านในมานอกกว้างพอที่วางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางได้ รอจนแห้ง
ฉีดยาชาแบบ field block / local blok
ทดสอบการชาโดยใช้ tooth forceps
เลือกตำแหน่งที่นิ่มที่สุด กรีดฝีโดยใช้ใบมีดเบอร์ 11 หงายคมขึ้น
ใช้ Arterial forceps ขยายปากแผลให้กว้าง เพื่อให้หนองไหลออกมาได้สะดวก
ล้างหนองออกจนแผลสะอาด โดยใช้ 0.9% NSS ถ้าแผลลึกต้อง irrigate
ใช้ gauze drain ใส่เข้าไปให้เต็มและลึกถึงก้นแผล อย่า Pack แน่น
ปิดแผล
การถอดเล็บ Nail extraction
เช่น
การเกิดเล็บขบซํ้าๆ หรือเล็บขบที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยากินและยาทา
ประสบอุบัติเหตุที่เล็บ ทําให้เล็บฉีกขาด
เล็บบางส่วนหลุดออกจากเนื้อเยื่อฐานเล็บ
การติดเชื้อบริเวณเล็บหรือเนื้อเยื่อใต้เล็บ
เล็บหนา
ป่วยด้วยโรค สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ความผิดปกติแต่กําเนิด
อายุที่เพิ่มมากขึ้น
สวมใส่รองเท้าที่คับแน่นเกินไปบ่อย ๆ
ภาวะเเทรกซ้อน
ผื่นแพ้สัมผัส
อาจเกิดจากการใช้ยาทิงเจอร์หรือสารละลายเบโซอิน
การติดเชื้อแบคทีเรียทุติยภูมิ
เป็นการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลัง หรือระหว่างการรักษาการติดเชื้อที่เป็นเหตุทําให้ต้องถอดเล็บในตอนแรก
การเย็บแผล (Suture)
วัสดุเย็บ
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable Sutures)
ทำมาจาก Collagen ใน Submucosa ของ ลำไส้แกะหรือวัว เริ่มยุ่ยและแตกภายใน 4-5 วัน และจะหมดไปภายใน 2 สัปดาห์
เช่น Catgut Vicryl Monocryl Dexon PDS และ Maxon
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-Absorbable Sutures)
ประกอบด้วย เส้นใยตามธรรมชาติ เช่นไหมดำ (Silk) ราคาถูก ผูกปมง่าย และไม่คลาย เช่น Silk Nylon Prolene Novafil
การตัดไหม
skin suture
ลำตัว ผิวหนังไม่ตึงมาก 7 วัน
ใน area ที่มีการเคลื่อนไหวมากๆ เช่นข้อ 2 สัปดาห์
บริเวณศีรษะ ใบหน้า และลำคอ 3-5 วัน
แขน ขา หรือผิวหนังที่ตึงมาก 7-10 วัน
แผลที่ไม่ควรเย็บ
สุนัขกัด
ตกน้ำครำ
แผลติดเชื้อ
เข็มเย็บแผล (Needle)
Cutting
มีความคมด้านข้าง ใช้เย็บเนื้อเยื่อที่หนา เหนียว
round/ taper
ใช้เย็บเนื้อเยื่อที่อ่อน ไม่ต้องการให้ขอบเข็มบาดเนื้อเยื่อ
การพยาบาลหลังเย็บแผล
นัดมาทำแผลในวันรุ่งขึ้น ถ้าแผลแห้งดี รอบแผลไม่บวมแดงอาจนัดวันเว้นวันจนกว่าจะครบตัดไหม
ถ้าแผลมี discharge บวม แดง นัดมาทำแผลทุกวัน
การดามกระดูก
กระดูกปลายแขนหัก
ใช้ไม้แผ่นแบนๆหรือหนังสือพิมพ์พับหนาๆให้มีความยาว ตั้งแต่ปลายนิ้วถึงข้อศอกใช้เป็นเฝือกแล้วพันด้วยเชือกหรือผ้ายืดให้กระชับใช้ผ้าคล้องคอห้อยแขนข้างที่หักไว้
กระดูกแขนและไหปลาร้าหัก
ใช้ผ้าคล้องแขนแล้วผูกกับคอใช้ผ้าอีกผืนพันรัดแขนข้างที่ หักให้ติดกับลำตัว กระดูกแขนหักบริเวณข้อศอกอาจจะหักตอนปลายของกระดูกต้นแขนหรือส่วนบนของกระดูกปลายแขนอย่าพยายามงอแขน เพื่อคล้องแขนให้ดามแขนในลักษณะตรง
กระดูกขาท่อนล่างหัก
ควรดามโดยใช้เฝือก 2 อันยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงเหนือเข่าและใช้ผ้าผูก ติดกันเป็นเปลาะๆ ใช้ผ้าหนาๆสอดระหว่างขาทั้ง 2 ข้างแล้วผูกติดกันเป็นเปลาะๆ ข้อควรระวังควรให้ปลายเท้าตั้งฉากเสมอและคอยตรวจดูว่าผ้าที่มัดไว้แน่นเกินไป จนเลือดไหลไม่สะดวกหรือไม่และพยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่รัด
กระดูกต้นขาหัก
ใช้เฝือก 2 ชิ้น โดยชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงใต้รักแร้ อีกชิ้นยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงโคนขาแล้วใช้ผ้าผูกเฝือกทั้ง 2 ให้ติดกับขาข้างที่หัก ถ้าไม่มีเฝือกให้ผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันถ้ามีบาดแผลหรือกระดูกโผล่อย่า พยายามล้างทำความสะอาด ถ้ามีเลือดออกใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือดก่อน
กระดูกเชิงกรานหัก
ใช้วิธีผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันโดยสอดผ้าสามเหลี่ยมพับกว้างๆ 2 ข้างไว้ ใต้ตะโพกและเชิงกรานผูกปมตรงกลางลำตัว วางผ้านุ่มๆระหว่างขาทั้ง 2 ข้าง บริเวณเข่าและข้อเท้าแล้วผูกติดกันด้วยผ้าสามเหลี่ยมพับผูกเป็นเลข 8 และผูกผ้ารอบเข่าทั้ง 2 ข้าง
กระดูกสันหลังหัก
จะมีอันตรายร้ายแรงกว่ากระดูกสันหลังส่วนล่างหัก ดังนั้น การเคลื่อนย้ายต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะส่วนที่หัก อาจจะไปกดหรือบาดไขสันหลังให้ขาดได้ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต หรือไม่ก็เป็นอัมพาต ไม่แนะนำให้ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเอง ควรแจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์
การช่วยเหลือผู้ป่วยที่จมน้ำ
การจมน้ำ (Drowning) คือ การที่จมลงใต้น้ำแล้วหายใจเอาน้ำเข้าไปในปอด และกลืนกินน้ำเข้าไป จมมีผลต่อร่างกาย ซึ่งอาจทำให้เสียชีวิตได้ มักเกิดกับคนที่ว่ายน้ำไม่เป็น หรือคนที่ว่ายน้ำเป็นแต่อยู่ในภาวะซึ่งช่วยเหลือตนเองไม่ได้
การจมน้ำในน้ำจืดจะใช้เวลาประมาณ 3-4 นาที
และในน้ำเค็มจะใช้เวลาประมาณ 7-8 นาที
การปฐมพยาบาล
กรณีไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง :
ช่วยหายใจ
เปิดทางเดินหายใจ โดยการกดหน้าผาก เชยคาง
เป่าปากโดยวางปากครอบปากผู้ป่วย บีบจมูก เป่าลมเข้า ให้หน้าอกผู้ป่วยยกขึ้น (เป่าปาก 2 ครั้ง)
จับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง ศีรษะหงายไปข้างหลัง เพื่อให้น้ำไหลออกทางปาก ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น งดน้ำและอาหาร และนำส่งโรงพยาบาลทุกราย
จับคนจมน้ำนอนบนพื้นราบ แห้งและแข็ง
ห้ามจับผู้ประสบภัยอุ้มพาดบ่า กระโดด หรือวิ่งรอบสนาม เพื่อเอาน้ำออก
โทรศัพท์แจ้งหมายเลข 1669 หรือ หน่วยพยาบาลใกล้เคียงโดยเร็วที่สุด
ตรวจดูว่ารู้สึกตัวหรือไม่ โดยใช้มือทั้ง 2 ข้างจับไหล่ เขย่าพร้อมเรียกดังๆ
กดนวดหัวใจ
วางส้นมือขนานกับแนวกึ่งกลางหน้าอก
(กึ่งกลางหัวนมทั้ง 2 ข้าง)
กดหน้าอกให้ยุบไปประมาณ 1 ใน 3 ของความหนาของหน้าอก ความเร็ว 100 ครั้งต่อนาที
นวดหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง ทำไปจนกว่าผู้ประสบภัยจะรู้สึกตัว และหายใจได้เอง
กรณีรู้สึกตัว เช็ดตัวให้แห้ง เปลี่ยนเสื้อผ้าและห่มผ้า เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย และนำส่งโรงพยาบาลทุกราย
CPR (Cardiopulmonary resuscitation)
เมื่อพบ Cardiopulmonary Arrest
ไม่หายใจ หรือหายใจกระตุกนานๆครั้ง
หมดสติ เรียกไม่ตอบสนอง เกิดหลังหัวใจหยุดทำงาน 3-6 วินาที
คลำชีพจรที่คอ หรือที่ขาหนีบไม่ได้ และฟังเสียงหายใจไม่ได้
ผิวหนังซีด เขียวคล้ำ
ม่านตาขยาย (หลังหัวใจหยุดเต้น 45 วินาที)
การได้รับยาชาเฉพาะที่
Local anesthesia
คือ ยาที่ออกฤทธิ์ปิดกั้นการส่งกระแสประสาทกับเส้นประสาทเท่านั้น จะใช้เวลาประมาณ 2-3 นาทีในการออกฤทธิ์ และผู้ใช้จะกลับมารู้สึกได้ปกติหลังจากเวลาผ่านไปประมาณ 2-3 ชั่วโมง เมื่อยาหมดฤทธิ์
Lignocaine hydrochloride หรือLidocaine หรือ Xylocaine นิยมใช้ ออกฤทธิ์เร็ว มีผลต่อร่างกาย 120 นาที
Pontocaine Hydrochloride ใช้ทาสำหรับลูกตา จมูก ปาก และคอ
Novocain หรือ Procaine Hydrochloride ออกฤทธิ์เร็ว 30 นาที-2 ชม.
ยาชาที่มีส่วนผสมของ Adrenaline จะทำให้มีฤทธิ์อยู่นาน ไม่ควรฉีดที่นิ้วมือ นิ้วเท้า ใบหู Penis nipple เพราะอาจทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้เนื้อตายได้
บาดแผลที่เกิดจากอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บ
ประเภท
บาดแผลถลอก (Abrasions)
บาดแผลฟกช้ำ (Contusion wound/
Bruise)
บาดแผลฉีกขาด (Lacerations wound)
บาดแผลตัด (Cut wound)
บาดแผลทะลุหรือบาดแผลถูกแทง
(Punctures or penetrating wound)
บาดแผลถูกบีบหรือบด (Crushed wound)
บาดแผลถลก (Avulsion wound)
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
2.เช็ดด้วยไม้พันสำลีบริเวณเปลือกตาบน ปิดตา
ถ้าเป็นเศษวัสดุต่างๆ ให้ป้ายตา พร้อมปิดตา ส่งconsult eye
ฝุ่นเข้าตา ล้างตาด้วย NSS แบบไหลริน
(irrigate)
ห้ามเขี่ยเองโดยเด็ดขาด